ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้พุ่ม สูง 1-2 ม. แตกกิ่งจำนวนมาก สีน้ำตาลอมเขียวหรือสีน้ำตาลแดง ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับฉาก เรียงชิดกันใกล้ช่อดอก ใบรูปใบหอก ยาว 4-10 ซม. ปลายใบแหลม ปลายเป็นติ่ง โคนใบเรียวสอบจรดก้านใบ ขอบใบเรียบ แผ่นใบเกลี้ยง สีเขียวเข้มหรืออมม่วง เส้นกลางใบส่วนมากมีสีแดงหรือสีชมพู ก้านใบสั้น มีหนามที่โคนหนึ่งคู่ โค้งงอ ยาว 1-2 ซม. มีหนามสั้นๆ ตรง 1 อัน ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ออกตามปลายกิ่ง ยาว 8-10 ซม. ใบประดับมีโคนสีเขียว สีน้ำตาลอมม่วงครึ่งบน หรือทั้งใบประดับมีสีแดงอมเขียวหรือสีม่วงอมน้ำตาล รูปไข่เกือบกลม ปลายเป็นติ่งแหลม ยาวได้ประมาณ 1.5 ซม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ เรียงตรงข้ามเป็นคู่ ยาว 0.8-1 ซม. คู่นอกมีขนาดใหญ่กว่าคู่ใน ปลายเป็นติ่งหนาม กลีบดอกคล้ายรูปปากเปิด หลอดกลีบเรียวยาว ยาวประมาณ 3 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ สีส้มหรือเหลือง กลีบส่วนบนส่วนใหญ่มี 4 กลีบ เรียงซ้อนแผ่ชิดกัน บานแผ่ออก ขนาดใหญ่กว่ากลีบล่าง ยาว 1-2 ซม. กลีบล่างขนาดเล็ก พับงอเล็กน้อย เกสรเพศผู้ 2 อัน ยาวประมาณ 2 ซม. ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 2 อัน สั้นๆ รังไข่ 2 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ยาวประมาณ 3 ซม. ผลแบบแคปซูล รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน แบน ยาว ประมาณ 1.5 ซม. แห้งแล้วแตกเป็น 2 ซีก มี 1-2 เม็ด ในแต่ละซีก
- ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 1.5 เมตร แตกกิ่งก้านมาก ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปแถบแกมขอบขนาน กว้าง 0.9-1.4 ซม. ยาว 3-9.5 ซม. ปลายใบมนเป็นติ่งหนามสั้น โคนใบรูปลิ่ม ผิวใบเกลี้ยง ก้านใบยาวได้ถึง 6 มม. ซอกใบมีหนามแหลม ดอกช่อเชิงลดออกที่ปลายกิ่งยาวได้ถึง 9 ซม. ใบประดับรูปไข่กว้างได้ถึง 1.2 ซม. ยาวได้ถึง 1.8 ซม. ปลายเป็นติ่งหนามสั้น มีขนครุยสั้นที่ด้านหลังของต่อมที่กาบหุ้มผล ใบประดับย่อยรูปใบหอก ปลายเป็นติ่งหนาม กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็นแฉกรูปไข่กว้าง ขนาดไม่เท่ากัน กว้าง 1-4 มม. ยาว 6-9 มม. ปลายเป็นรยางค์แข็งสั้น กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดยาวได้ถึง 3 ซม. ปลายผายออกเป็น 2 ปาก สีเหลือง ผลแห้งแตกได้รูปกระสวย
- ไม้พุ่ม สูง 1-2 ม. แตกกิ่งจำนวนมาก สีน้ำตาลอมเขียวหรือสีน้ำตาลแดง ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับฉาก เรียงชิดกันใกล้ช่อดอก ใบรูปใบหอก ยาว 4-10 ซม. ปลายใบแหลม ปลายเป็นติ่ง โคนใบเรียวสอบจรดก้านใบ ขอบใบเรียบ แผ่นใบเกลี้ยง สีเขียวเข้มหรืออมม่วง เส้นกลางใบส่วนมากมีสีแดงหรือสีชมพู ก้านใบสั้น มีหนามที่โคนหนึ่งคู่ โค้งงอ ยาว 1-2 ซม. มีหนามสั้นๆ ตรง 1 อัน ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ออกตามปลายกิ่ง ยาว 8-10 ซม. ใบประดับมีโคนสีเขียว สีน้ำตาลอมม่วงครึ่งบน หรือทั้งใบประดับมีสีแดงอมเขียวหรือสีม่วงอมน้ำตาล รูปไข่เกือบกลม ปลายเป็นติ่งแหลม ยาวได้ประมาณ 1.5 ซม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ เรียงตรงข้ามเป็นคู่ ยาว 0.8-1 ซม. คู่นอกมีขนาดใหญ่กว่าคู่ใน ปลายเป็นติ่งหนาม กลีบดอกคล้ายรูปปากเปิด หลอดกลีบเรียวยาว ยาวประมาณ 3 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ สีส้มหรือเหลือง กลีบส่วนบนส่วนใหญ่มี 4 กลีบ เรียงซ้อนแผ่ชิดกัน บานแผ่ออก ขนาดใหญ่กว่ากลีบล่าง ยาว 1-2 ซม. กลีบล่างขนาดเล็ก พับงอเล็กน้อย เกสรเพศผู้ 2 อัน ยาวประมาณ 2 ซม. ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 2 อัน สั้นๆ รังไข่ 2 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ยาวประมาณ 3 ซม. ผลแบบแคปซูล รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน แบน ยาว ประมาณ 1.5 ซม. แห้งแล้วแตกเป็น 2 ซีก มี 1-2 เม็ด ในแต่ละซีก
- ไม้พุ่ม สูง 1-2 ม. แตกกิ่งจำนวนมาก สีน้ำตาลอมเขียวหรือสีน้ำตาลแดง ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับฉาก เรียงชิดกันใกล้ช่อดอก ใบรูปใบหอก ยาว 4-10 ซม. ปลายใบแหลม ปลายเป็นติ่ง โคนใบเรียวสอบจรดก้านใบ ขอบใบเรียบ แผ่นใบเกลี้ยง สีเขียวเข้มหรืออมม่วง เส้นกลางใบส่วนมากมีสีแดงหรือสีชมพู ก้านใบสั้น มีหนามที่โคนหนึ่งคู่ โค้งงอ ยาว 1-2 ซม. มีหนามสั้นๆ ตรง 1 อัน ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ออกตามปลายกิ่ง ยาว 8-10 ซม. ใบประดับมีโคนสีเขียว สีน้ำตาลอมม่วงครึ่งบน หรือทั้งใบประดับมีสีแดงอมเขียวหรือสีม่วงอมน้ำตาล รูปไข่เกือบกลม ปลายเป็นติ่งแหลม ยาวได้ประมาณ 1.5 ซม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ เรียงตรงข้ามเป็นคู่ ยาว 0.8-1 ซม. คู่นอกมีขนาดใหญ่กว่าคู่ใน ปลายเป็นติ่งหนาม กลีบดอกคล้ายรูปปากเปิด หลอดกลีบเรียวยาว ยาวประมาณ 3 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ สีส้มหรือเหลือง กลีบส่วนบนส่วนใหญ่มี 4 กลีบ เรียงซ้อนแผ่ชิดกัน บานแผ่ออก ขนาดใหญ่กว่ากลีบล่าง ยาว 1-2 ซม. กลีบล่างขนาดเล็ก พับงอเล็กน้อย เกสรเพศผู้ 2 อัน ยาวประมาณ 2 ซม. ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 2 อัน สั้นๆ รังไข่ 2 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ยาวประมาณ 3 ซม. ผลแบบแคปซูล รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน แบน ยาว ประมาณ 1.5 ซม. แห้งแล้วแตกเป็น 2 ซีก มี 1-2 เม็ด ในแต่ละซีก
- ไม้พุ่ม สูง 1-2 ม. แตกกิ่งจำนวนมาก สีน้ำตาลอมเขียวหรือสีน้ำตาลแดง ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับฉาก เรียงชิดกันใกล้ช่อดอก ใบรูปใบหอก ยาว 4-10 ซม. ปลายใบแหลม ปลายเป็นติ่ง โคนใบเรียวสอบจรดก้านใบ ขอบใบเรียบ แผ่นใบเกลี้ยง สีเขียวเข้มหรืออมม่วง เส้นกลางใบส่วนมากมีสีแดงหรือสีชมพู ก้านใบสั้น มีหนามที่โคนหนึ่งคู่ โค้งงอ ยาว 1-2 ซม. มีหนามสั้นๆ ตรง 1 อัน ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ออกตามปลายกิ่ง ยาว 8-10 ซม. ใบประดับมีโคนสีเขียว สีน้ำตาลอมม่วงครึ่งบน หรือทั้งใบประดับมีสีแดงอมเขียวหรือสีม่วงอมน้ำตาล รูปไข่เกือบกลม ปลายเป็นติ่งแหลม ยาวได้ประมาณ 1.5 ซม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ เรียงตรงข้ามเป็นคู่ ยาว 0.8-1 ซม. คู่นอกมีขนาดใหญ่กว่าคู่ใน ปลายเป็นติ่งหนาม กลีบดอกคล้ายรูปปากเปิด หลอดกลีบเรียวยาว ยาวประมาณ 3 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ สีส้มหรือเหลือง กลีบส่วนบนส่วนใหญ่มี 4 กลีบ เรียงซ้อนแผ่ชิดกัน บานแผ่ออก ขนาดใหญ่กว่ากลีบล่าง ยาว 1-2 ซม. กลีบล่างขนาดเล็ก พับงอเล็กน้อย เกสรเพศผู้ 2 อัน ยาวประมาณ 2 ซม. ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 2 อัน สั้นๆ รังไข่ 2 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ยาวประมาณ 3 ซม. ผลแบบแคปซูล รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน แบน ยาว ประมาณ 1.5 ซม. แห้งแล้วแตกเป็น 2 ซีก มี 1-2 เม็ด ในแต่ละซีก
การกระจายพันธุ์ :
- ในประเทศไทยพบได้ทั่วไป
- มีถิ่นกำเนิดในสาธารณรัฐมอริเชียส ซึ่งตั้งอยู่นอกชายฝั่งแอฟริกาในมหาสมุทรอินเดีย แล้วมีการกระจายพันธุ์บริเวณประเทศใกล้เคียง และยังมีการนำมาเข้าใช้ประโยชน์และปลูกยังดินแดนเขตร้อนต่าง ๆ ทั่วโลกอีกด้วย ส่วนในประเทศไทยนั้นสามารถพบเสลดพังพอนตัวผู้ได้ทุกภาคของประเทศ โดยอาจจะพบในลักษณะของการปลูกไว้ใช้ประโยชน์หรือขึ้นเป็นวัชพืชก็ได้
- ในประเทศไทยพบได้ทั่วไป
- ในประเทศไทยพบได้ทั่วไป
- ในประเทศไทยพบได้ทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง