ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
พืชใต้น้ำ ต้นเป็นสายกลมยาวแตกกิ่งก้านสาขาแขวนลอยอยู่ใต้น้ำอย่างอิสระ ใบ แยกรอบข้อคล้ายเป็นวง 7 – 12 ใบ ลักษณะเป็นเส้นขอบใบจักฟันเลื่อยด้านเดียว อีกด้านหนึ่งเรียบ ดอก แยกเพศ แต่เกิดบนต้นเดียวกัน กลีบดอก 8 – 12 กลีบ เกสรเพศผู้ 8 –24 อัน ผล สีดำมีหนามแหลม 3 อัน
-
พืชใต้น้ำ ต้นเป็นสายกลมยาวแตกกิ่งก้านสาขาแขวนลอยอยู่ใต้น้ำอย่างอิสระ ใบ แยกรอบข้อคล้ายเป็นวง 7 – 12 ใบ ลักษณะเป็นเส้นขอบใบจักฟันเลื่อยด้านเดียว อีกด้านหนึ่งเรียบ ดอก แยกเพศ แต่เกิดบนต้นเดียวกัน กลีบดอก 8 – 12 กลีบ เกสรเพศผู้ 8 –24 อัน ผล สีดำมีหนามแหลม 3 อัน
-
พืชใต้น้ำ ต้นเป็นสายกลมยาวแตกกิ่งก้านสาขาแขวนลอยอยู่ใต้น้ำอย่างอิสระ ใบ แยกรอบข้อคล้ายเป็นวง 7 – 12 ใบ ลักษณะเป็นเส้นขอบใบจักฟันเลื่อยด้านเดียว อีกด้านหนึ่งเรียบ ดอก แยกเพศ แต่เกิดบนต้นเดียวกัน กลีบดอก 8 – 12 กลีบ เกสรเพศผู้ 8 –24 อัน ผล สีดำมีหนามแหลม 3 อัน
-
พืชใต้น้ำ ต้นเป็นสายกลมยาวแตกกิ่งก้านสาขาแขวนลอยอยู่ใต้น้ำอย่างอิสระ ใบ แยกรอบข้อคล้ายเป็นวง 7 – 12 ใบ ลักษณะเป็นเส้นขอบใบจักฟันเลื่อยด้านเดียว อีกด้านหนึ่งเรียบ ดอก แยกเพศ แต่เกิดบนต้นเดียวกัน กลีบดอก 8 – 12 กลีบ เกสรเพศผู้ 8 –24 อัน ผล สีดำมีหนามแหลม 3 อัน
การกระจายพันธุ์ :
-
กระจายทั่วไปทั้งในเขตร้อนและเขตอบอุ่น ที่ระดับใกล้น้ำทะเลจนถึง 1,500 เมตร อยู่ในน้ำลึกได้ถึง 60 ซม.
-
กระจายทั่วไปทั้งในเขตร้อนและเขตอบอุ่น ที่ระดับใกล้น้ำทะเลจนถึง 1,500 เมตร อยู่ในน้ำลึกได้ถึง 60 ซม.
-
กระจายทั่วไปทั้งในเขตร้อนและเขตอบอุ่น ที่ระดับใกล้น้ำทะเลจนถึง 1,500 เมตร อยู่ในน้ำลึกได้ถึง 60 ซม.
-
กระจายทั่วไปทั้งในเขตร้อนและเขตอบอุ่น ที่ระดับใกล้น้ำทะเลจนถึง 1,500 เมตร อยู่ในน้ำลึกได้ถึง 60 ซม.
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงโขงหลง
-
ทะเลสาบสงขลา
ถิ่นกำเนิด :
-
ระบบนิเวศน้ำกร่อย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สงขลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
การขยายพันธุ์ :
-
ขยายพันธุ์โดยการตัดลำต้นปักชำใต้นํ้า