ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เลื้อยมีเนื้อแข็ง ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรีหรือขอบขนาน กว้าง 3-5 ซม. ยาว 6-10 ซม. โคนและปลายใบแหลม ผิวใบสากคาย ดอกสีขาวหรือชมพูอ่อน กลิ่นหอม ออกเป็นช่อแน่น ดอกย่อยขนาด 1.2-2 ซม. จำนวนมาก กลีบรองดอก 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน กลีบดอก 5 กลีบ หลุดร่วงง่าย เกสรผู้จำนวนมาก ยาว 4-5 มม. ผลเป็นผลแห้ง รูปไข่ จะแตกเป็นแนวเดียว
-
ไม้เลื้อยมีเนื้อแข็ง ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรีหรือขอบขนาน กว้าง 3-5 ซม. ยาว 6-10 ซม. โคนและปลายใบแหลม ผิวใบสากคาย ดอกสีขาวหรือชมพูอ่อน กลิ่นหอม ออกเป็นช่อแน่น ดอกย่อยขนาด 1.2-2 ซม. จำนวนมาก กลีบรองดอก 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน กลีบดอก 5 กลีบ หลุดร่วงง่าย เกสรผู้จำนวนมาก ยาว 4-5 มม. ผลเป็นผลแห้ง รูปไข่ จะแตกเป็นแนวเดียว
การกระจายพันธุ์ :
-
พบกระจายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตามป่าดิบหรือป่าผลัดใบ ที่ใกล้ระดับน้ำทะเลถึงระดับ 400 ม. ออกดอกช่วงเดือนพฤศจิกายน-มีนาคม
-
พบกระจายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตามป่าดิบหรือป่าผลัดใบ ที่ใกล้ระดับน้ำทะเลถึงระดับ 400 ม. ออกดอกช่วงเดือนพฤศจิกายน-มีนาคม
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
ยโสธร,อำนาจเจริญ,อุบลราชธานี
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
สุราษฎร์ธานี, ระนอง
-
ชุมพร
-
พื้นที่ลุ่มน้ำลำเซบาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
ป่าทามลำเซบาย, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สมาคมภูมินิเวศพัฒนาอย่างยั่งยืน, 2559
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช