ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาท่าเพชร
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาปะช้าง-แหลมขาม
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า คุ้งกระเบน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ถ้ำผาท่าพล
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกห้วยยาง
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
ป่าดงดิบกะลา ป่าภูสิงห์ และป่าดงสีชมพู หนองคาย, ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้นสูงได้ถึง 30 ม. ใบเรียงตรงข้าม รูปรี รูปไข่ หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 6-22 ซม. ปลายแหลมยาว ก้านใบยาว 4-9 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจะแยกแขนง เป็นคู่ ยาวได้ถึง 30 ซม. ช่อกระจะยาว 7-20 ซม. ดอกสมบูรณ์เพศหรือมีเพศ เดียว ดอกสีเขียวหรืออมเหลือง ใบประดับขนาดเล็ก ก้านดอกยาว 1-3 มม. หลอด กลีบเลี้ยงกว้าง 2-3 มม. มี 5 กลีบรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ไม่มีกลีบดอก เกสร เพศผู้ 5 อัน เรียงสลับกลีบเลี้ยง ยาว 3-5 มม. เป็นหมันในดอกเพศเมีย รังไข่มี 2-3 ช่อง ลดรูปในดอกเพศผู้ ผลแห้งแตก รูปไข่ แบน ยาว 2-4 มม. มีขนประปราย กลีบเลี้ยง เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมียติดทน เมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก พบที่อินเดีย บังกลาเทศ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร ใบมีสรรพคุณเป็นยาสมาน แก้โรคผิวหนัง
-
ไม้ต้นสูงได้ถึง 30 ม. ใบเรียงตรงข้าม รูปรี รูปไข่ หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 6-22 ซม. ปลายแหลมยาว ก้านใบยาว 4-9 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจะแยกแขนงเป็นคู่ ยาวได้ถึง 30 ซม. ช่อกระจะยาว 7-20 ซม. ดอกสมบูรณ์เพศหรือมีเพศเดียว ดอกสีเขียวหรืออมเหลือง ใบประดับขนาดเล็ก ก้านดอกยาว 1-3 มม. หลอดกลีบเลี้ยงกว้าง 2-3 มม. มี 5 กลีบรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ 5 อัน เรียงสลับกลีบเลี้ยง ยาว 3-5 มม. เป็นหมันในดอกเพศเมีย รังไข่มี 2-3 ช่อง ลดรูปในดอกเพศผู้ ผลแห้งแตก รูปไข่ แบน ยาว 2-4 มม. มีขนประปราย กลีบเลี้ยง เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมียติดทน เมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก
-
ไม้ต้นสูงได้ถึง 30 ม. ใบเรียงตรงข้าม รูปรี รูปไข่ หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 6-22 ซม. ปลายแหลมยาว ก้านใบยาว 4-9 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจะแยกแขนง เป็นคู่ ยาวได้ถึง 30 ซม. ช่อกระจะยาว 7-20 ซม. ดอกสมบูรณ์เพศหรือมีเพศ เดียว ดอกสีเขียวหรืออมเหลือง ใบประดับขนาดเล็ก ก้านดอกยาว 1-3 มม. หลอด กลีบเลี้ยงกว้าง 2-3 มม. มี 5 กลีบรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ไม่มีกลีบดอก เกสร เพศผู้ 5 อัน เรียงสลับกลีบเลี้ยง ยาว 3-5 มม. เป็นหมันในดอกเพศเมีย รังไข่มี 2-3 ช่อง ลดรูปในดอกเพศผู้ ผลแห้งแตก รูปไข่ แบน ยาว 2-4 มม. มีขนประปราย กลีบเลี้ยง เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมียติดทน เมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก พบที่อินเดีย บังกลาเทศ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร ใบมีสรรพคุณเป็นยาสมาน แก้โรคผิวหนัง
-
ไม้ต้นสูงได้ถึง 30 ม. ใบเรียงตรงข้าม รูปรี รูปไข่ หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 6-22 ซม. ปลายแหลมยาว ก้านใบยาว 4-9 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจะแยกแขนงเป็นคู่ ยาวได้ถึง 30 ซม. ช่อกระจะยาว 7-20 ซม. ดอกสมบูรณ์เพศหรือมีเพศเดียว ดอกสีเขียวหรืออมเหลือง ใบประดับขนาดเล็ก ก้านดอกยาว 1-3 มม. หลอดกลีบเลี้ยงกว้าง 2-3 มม. มี 5 กลีบรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ 5 อัน เรียงสลับกลีบเลี้ยง ยาว 3-5 มม. เป็นหมันในดอกเพศเมีย รังไข่มี 2-3 ช่อง ลดรูปในดอกเพศผู้ ผลแห้งแตก รูปไข่ แบน ยาว 2-4 มม. มีขนประปราย กลีบเลี้ยง เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมียติดทน เมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก
การขยายพันธุ์ :
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สุราษฎร์ธานี
-
สงขลา
-
สงขลา
-
จันทบุรี
-
พิษณุโลก
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
ลำพูน, ลำปาง
-
พะเยา
-
ประจวบคีรีขันธ์
-
สระแก้ว
-
ชุมพร
-
นครศรีธรรมราช
-
นครศรีธรรมราช
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
กระบี่, ตรัง
-
กำแพงเพชร
-
จันทบุรี
-
กระบี่, สุราษฎร์ธานี
-
กระบี่, สุราษฎร์ธานี
-
เชียงใหม่
-
พะเยา, น่าน
-
แม่ฮ่องสอน
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
สตูล, สงขลา
-
พังงา
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุบลราชธานี
-
ศรีสะเกษ
-
พิษณุโลก
-
บึงกาฬ
-
บึงกาฬ
-
กาฬสินธุ์
-
ราชบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
เชียงใหม่
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
หนองคาย, ชุมพร
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ที่มาของข้อมูล
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมป่าไม้
-
ทรัพยากรธรรมชาติของคนชายโขง, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช