ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เลื้อยเกาะอาศัย ใบรูปกลม แบนหรือนูน ผิวใบขรุขระ กว้าง ปลายใบหยักเว้าเล็กน้อย ดอกเป็นช่อที่ซอกใบ ดอกทรงคนโฑ สีขาวครีม ขนาดเล็ก ปลายแยกเป็น 5 แฉก ออกดอกเดือนกันยายน
-
ไม้เลื้อยเกาะอิงอาศัย มียางขาว ลำต้นเล็ก รากออกตามข้อเป็นกระจุก ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปคล้ายกระทะคว่ำ ขอบแนบกับพื้นที่ขึ้น ปลายเว้าตื้นๆ โคนตัด มองไม่เห็นเส้นใบ มักมีแถบสีม่วงแกมเขียวจากโคนใบถึงประมาณกึ่งกลางใบ ใต้ใบสีม่วง ขอบสีเขียวอ่อน โคนใบทั้งคู่เกยปิดลำต้น ช่อดอกออกตามง่ามใบ ดอกเล็กออกที่บริเวณปลายสุดของแกน ครั้งละ 1-5 ดอก ดอกออกที่ปลายแกนช่อเดิมได้หลายครั้ง กลีบดอกสีนวลหรือเหลือง ฝักรูปทรงกระบอก เมื่อแก่แตกแนวเดียว มีเมล็ดเล็กๆ มาก เมล็ดมีขนยาวเป็นพู่สีขาวที่ปลายด้านหนึ่ง
-
ไม้เลื้อยเกาะอาศัย ใบรูปกลม แบนหรือนูน ผิวใบขรุขระ กว้าง ปลายใบหยักเว้าเล็กน้อย ดอกเป็นช่อที่ซอกใบ ดอกทรงคนโฑ สีขาวครีม ขนาดเล็ก ปลายแยกเป็น 5 แฉก ออกดอกเดือนกันยายน
-
ไม้เลื้อยเกาะอาศัย ใบรูปกลม แบนหรือนูน ผิวใบขรุขระ กว้าง ปลายใบหยักเว้าเล็กน้อย ดอกเป็นช่อที่ซอกใบ ดอกทรงคนโฑ สีขาวครีม ขนาดเล็ก ปลายแยกเป็น 5 แฉก ออกดอกเดือนกันยายน
-
ไม้เลื้อยเกาะอาศัย ใบรูปกลม แบนหรือนูน ผิวใบขรุขระ กว้าง ปลายใบหยักเว้าเล็กน้อย ดอกเป็นช่อที่ซอกใบ ดอกทรงคนโฑ สีขาวครีม ขนาดเล็ก ปลายแยกเป็น 5 แฉก ออกดอกเดือนกันยายน
การกระจายพันธุ์ :
-
พบในป่าผลัดใบ
-
ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ อาศัยเกาะตามต้นไม้อื่น
-
พบในป่าผลัดใบ
-
พบในป่าผลัดใบ
-
พบในป่าผลัดใบ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สรรพคุณตามตำราไทย
ส่วนที่ใช้ สรรพคุณตามตำราไทย
เปลือก เป็นยาฝาดสมาน ชะล้างบาดแผล ห้ามเลือด สมานแผล แก้ท้องร่วง
ต้น ชะล้างบาดแผล ห้ามเลือดบาดแผลสด