ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น สูง 3-5 เมตร กิ่งอ่อนเป็นสี่เหลี่ยม ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปไข่หรือรูปไข่กลับหรือรูปกลม ยาว 1.5-11.5 เซนติเมตร กว้าง 1-6 เซนติเมตร ปลายใบแหลมหรือเว้าบุ๋ม ฐานใบแหลม ขอบใบเรียบ ผิวใบด้านบนเรียบ ด้านล่างมีเกล็ด ก้านใบยาว 1-3 มิลลิเมตร ดอกช่อแบบกระจะ ออกที่ซอกใบหรือปลายยอด กลีบเลี้ยง รูปถ้วย ยาว 0.8-1 มิลลิเมตร ปลายแยกเป็น 4 แฉก ผิวด้านในมีขนอุยยาวสีขาวจำนวนมาก ส่วนผิวด้านนอกเป็นเกล็ด กลีบดอกรูปหอก ฐานสอบ ยาว 0.8-1 มิลลิเมตร กว้าง 0.1-0.2 มิลลิเมตร เกสรเพศผู้มี 8 อัน ขนาดยาว 4 อัน ก้านชูเกสร ยาว 1.5-2 มิลลิเมตร ขนาดสั้น 4 อัน ก้านชูเกสรยาว 0.5-1 มิลลิเมตร ติดกับอับเรณูบริเวณกลางของอับเรณู อับเรณูรูปกลมหรือรูปรี ยาว 0.3-0.5 มิลลิเมตร แตกตามยาว สีเหลืองอ่อน เกสรเพศเมีย รังไข่เหนือวงกลีบ ก้านชูเกสรรูปแท่งปลายแหลม ยาว 1.5-2 มิลลิเมตร ผลแคปซูลแบบมีปีก 3-5 กลีบ ยาว 0.5-1 เซนติเมตร เมล็ดรูปรีหัวท้ายแหลม สีน้ำตาลอ่อน มี 4 อันประกบกัน ยาว 0.5-1 เซนติเมตร
- ไม้ต้น สูง 3-5 เมตร กิ่งอ่อนเป็นสี่เหลี่ยม ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปไข่หรือรูปไข่กลับหรือรูปกลม ยาว 1.5-11.5 เซนติเมตร กว้าง 1-6 เซนติเมตร ปลายใบแหลมหรือเว้าบุ๋ม ฐานใบแหลม ขอบใบเรียบ ผิวใบด้านบนเรียบ ด้านล่างมีเกล็ด ก้านใบยาว 1-3 มิลลิเมตร ดอกช่อแบบกระจะ ออกที่ซอกใบหรือปลายยอด กลีบเลี้ยง รูปถ้วย ยาว 0.8-1 มิลลิเมตร ปลายแยกเป็น 4 แฉก ผิวด้านในมีขนอุยยาวสีขาวจำนวนมาก ส่วนผิวด้านนอกเป็นเกล็ด กลีบดอกรูปหอก ฐานสอบ ยาว 0.8-1 มิลลิเมตร กว้าง 0.1-0.2 มิลลิเมตร เกสรเพศผู้มี 8 อัน ขนาดยาว 4 อัน ก้านชูเกสร ยาว 1.5-2 มิลลิเมตร ขนาดสั้น 4 อัน ก้านชูเกสรยาว 0.5-1 มิลลิเมตร ติดกับอับเรณูบริเวณกลางของอับเรณู อับเรณูรูปกลมหรือรูปรี ยาว 0.3-0.5 มิลลิเมตร แตกตามยาว สีเหลืองอ่อน เกสรเพศเมีย รังไข่เหนือวงกลีบ ก้านชูเกสรรูปแท่งปลายแหลม ยาว 1.5-2 มิลลิเมตร ผลแคปซูลแบบมีปีก 3-5 กลีบ ยาว 0.5-1 เซนติเมตร เมล็ดรูปรีหัวท้ายแหลม สีน้ำตาลอ่อน มี 4 อันประกบกัน ยาว 0.5-1 เซนติเมตร
- ไม้ต้น สูง 3-5 เมตร กิ่งอ่อนเป็นสี่เหลี่ยม ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปไข่หรือรูปไข่กลับหรือรูปกลม ยาว 1.5-11.5 เซนติเมตร กว้าง 1-6 เซนติเมตร ปลายใบแหลมหรือเว้าบุ๋ม ฐานใบแหลม ขอบใบเรียบ ผิวใบด้านบนเรียบ ด้านล่างมีเกล็ด ก้านใบยาว 1-3 มิลลิเมตร ดอกช่อแบบกระจะ ออกที่ซอกใบหรือปลายยอด กลีบเลี้ยง รูปถ้วย ยาว 0.8-1 มิลลิเมตร ปลายแยกเป็น 4 แฉก ผิวด้านในมีขนอุยยาวสีขาวจำนวนมาก ส่วนผิวด้านนอกเป็นเกล็ด กลีบดอกรูปหอก ฐานสอบ ยาว 0.8-1 มิลลิเมตร กว้าง 0.1-0.2 มิลลิเมตร เกสรเพศผู้มี 8 อัน ขนาดยาว 4 อัน ก้านชูเกสร ยาว 1.5-2 มิลลิเมตร ขนาดสั้น 4 อัน ก้านชูเกสรยาว 0.5-1 มิลลิเมตร ติดกับอับเรณูบริเวณกลางของอับเรณู อับเรณูรูปกลมหรือรูปรี ยาว 0.3-0.5 มิลลิเมตร แตกตามยาว สีเหลืองอ่อน เกสรเพศเมีย รังไข่เหนือวงกลีบ ก้านชูเกสรรูปแท่งปลายแหลม ยาว 1.5-2 มิลลิเมตร ผลแคปซูลแบบมีปีก 3-5 กลีบ ยาว 0.5-1 เซนติเมตร เมล็ดรูปรีหัวท้ายแหลม สีน้ำตาลอ่อน มี 4 อันประกบกัน ยาว 0.5-1 เซนติเมตร
- ไม้ต้น สูง 3-5 เมตร กิ่งอ่อนเป็นสี่เหลี่ยม ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปไข่หรือรูปไข่กลับหรือรูปกลม ยาว 1.5-11.5 เซนติเมตร กว้าง 1-6 เซนติเมตร ปลายใบแหลมหรือเว้าบุ๋ม ฐานใบแหลม ขอบใบเรียบ ผิวใบด้านบนเรียบ ด้านล่างมีเกล็ด ก้านใบยาว 1-3 มิลลิเมตร ดอกช่อแบบกระจะ ออกที่ซอกใบหรือปลายยอด กลีบเลี้ยง รูปถ้วย ยาว 0.8-1 มิลลิเมตร ปลายแยกเป็น 4 แฉก ผิวด้านในมีขนอุยยาวสีขาวจำนวนมาก ส่วนผิวด้านนอกเป็นเกล็ด กลีบดอกรูปหอก ฐานสอบ ยาว 0.8-1 มิลลิเมตร กว้าง 0.1-0.2 มิลลิเมตร เกสรเพศผู้มี 8 อัน ขนาดยาว 4 อัน ก้านชูเกสร ยาว 1.5-2 มิลลิเมตร ขนาดสั้น 4 อัน ก้านชูเกสรยาว 0.5-1 มิลลิเมตร ติดกับอับเรณูบริเวณกลางของอับเรณู อับเรณูรูปกลมหรือรูปรี ยาว 0.3-0.5 มิลลิเมตร แตกตามยาว สีเหลืองอ่อน เกสรเพศเมีย รังไข่เหนือวงกลีบ ก้านชูเกสรรูปแท่งปลายแหลม ยาว 1.5-2 มิลลิเมตร ผลแคปซูลแบบมีปีก 3-5 กลีบ ยาว 0.5-1 เซนติเมตร เมล็ดรูปรีหัวท้ายแหลม สีน้ำตาลอ่อน มี 4 อันประกบกัน ยาว 0.5-1 เซนติเมตร
การกระจายพันธุ์ :
- ขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสินธุ์ นคราชสีมา
- ขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสินธุ์ นคราชสีมา
- ขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสินธุ์ นคราชสีมา
- ขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสินธุ์ นคราชสีมา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาวงจันแดง
- อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
- อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- ยโสธร,อำนาจเจริญ,อุบลราชธานี
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- สระบุรี
- เลย
- กาญจนบุรี
- พะเยา, น่าน
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- ชัยภูมิ
- เลย
- ตาก
- พะเยา
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- ตาก
- นนทบุรี
- พื้นที่ลุ่มน้ำลำเซบาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
ส่วนของตัวอย่างที่นำมาใช้ :
- ทั้งต้น/ ใบ/เมล็ด
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- - ต้นและรากมีรสเมา เป็นยาแก้อาเจียนเป็นโลหิต - ต้นและใบใช้ปรุงเป็นยารักษามะเร็งภายในต่างๆ ส่วนเมล็ดแก่ประมาณ 15-20 เมล็ด นำมาบดให้ละเอียด ผสมกับไข่ทอดให้เด็กกินเพียงครั้งเดียวขณะท้องว่าง เป็นยาถ่ายพยาธิไส้เดือน ตัวกลม และเส้นด้ายในเด็กได้ดี - ทำฟืนหุงต้
ข้อมูลภูมิปัญญา
- ภูมิปัญญาการอยู่ไฟ :: “การอยู่ไฟ” หมายถึง การใช้ความร้อนในการรักษาสุขภาพของหญิงหลังคลอด ซึ่งเป็นภูมิปัญญาไทยดั้งเดิม ที่ใช้ในการดูและรักษาหญิงหลังคลอดก่อนจะนำไปสู่การรักษาแบบตะวันตกต่อไป การตั้งครรภ์และสุขภาพหลังคลอดเป็นช่วงที่อ่อนไหวและวิกฤติของผู้หญิง เนื่องจากระบบต่าง ๆ ของร่างกายมีการปรับเปลี่ยนไป ร่างกายอยู่ในสภาวะไม่สมดุล จึงจำเป็นต้องเอาใจใส่ดูแลสุขภาพเป็นพิเศษ การอยู่ไฟนอกจากจะช่วยให้มดลูกแห้ง เข้าอู่เร็ว น้ำคาวปลาแห้งสนิทเร็ว ยังทำให้ร่างกายฟื้นตัวสู่สภาพปกติและแข็งแรงได้เร็วขึ้น นอกจากนั้นการอยู่ไฟยังทำให้ผิวพรรณดี เลือดลมสมบูรณ์ มีความแข็งแรงและกระฉับกระเฉง ไม่เมื่อยล้าหรือปวดหลังปวดเอว ขั้นตอนการอยู่ไฟ
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ