ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้พุ่มเลื้อย สูง 2-10 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปรี กว้าง 2.5-6 ซม. ยาว 5-15 ซม. โคนสอบมน ปลายแหลม ขอบใบจักเป็นฟันเลื่อย ก้านใบยาว 0.5-1.5 ซม. ดอกแยกเพศ ดอกเพศผู้มีกลีบรองดอก 5 กลีบ เชื่อมกันเป็นรูประฆัง กลีบดอกรูปขอบขนาน ปลายมน กว้าง 1-1.5 มม. ยาว 2.5-3 มม. เกสรผู้มี 5 อัน ยาว 3 มม. ดอกเพศเมียเหมือนดอกเพศผู้ เกสรผู้เป็นหมันยาว 1 มม. ผลค่อนข้างกลมขนาด 6-10 มม. มี 3 พู เมื่อแก่แตกออกตามสันพู เนื้อหุ้มเมล็ดสีแดง เมล็ดมี 3-6 เมล็ด รูปรี กว้าง 2-3 มม. ยาว 3.5-5 มม.
- ไม้เถาเนื้อแข็ง เลื้อยพาดทับต้นไม้อื่น ขึ้นเป็นหมู่ประปรายตามป่าดิบ
- ไม้พุ่มเลื้อย สูง 2-10 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปรี กว้าง 2.5-6 ซม. ยาว 5-15 ซม. โคนสอบมน ปลายแหลม ขอบใบจักเป็นฟันเลื่อย ก้านใบยาว 0.5-1.5 ซม. ดอกแยกเพศ ดอกเพศผู้มีกลีบรองดอก 5 กลีบ เชื่อมกันเป็นรูประฆัง กลีบดอกรูปขอบขนาน ปลายมน กว้าง 1-1.5 มม. ยาว 2.5-3 มม. เกสรผู้มี 5 อัน ยาว 3 มม. ดอกเพศเมียเหมือนดอกเพศผู้ เกสรผู้เป็นหมันยาว 1 มม. ผลค่อนข้างกลมขนาด 6-10 มม. มี 3 พู เมื่อแก่แตกออกตามสันพู เนื้อหุ้มเมล็ดสีแดง เมล็ดมี 3-6 เมล็ด รูปรี กว้าง 2-3 มม. ยาว 3.5-5 มม.
- ไม้พุ่มเลื้อย สูง 2-10 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปรี กว้าง 2.5-6 ซม. ยาว 5-15 ซม. โคนสอบมน ปลายแหลม ขอบใบจักเป็นฟันเลื่อย ก้านใบยาว 0.5-1.5 ซม. ดอกแยกเพศ ดอกเพศผู้มีกลีบรองดอก 5 กลีบ เชื่อมกันเป็นรูประฆัง กลีบดอกรูปขอบขนาน ปลายมน กว้าง 1-1.5 มม. ยาว 2.5-3 มม. เกสรผู้มี 5 อัน ยาว 3 มม. ดอกเพศเมียเหมือนดอกเพศผู้ เกสรผู้เป็นหมันยาว 1 มม. ผลค่อนข้างกลมขนาด 6-10 มม. มี 3 พู เมื่อแก่แตกออกตามสันพู เนื้อหุ้มเมล็ดสีแดง เมล็ดมี 3-6 เมล็ด รูปรี กว้าง 2-3 มม. ยาว 3.5-5 มม.
- ไม้พุ่มเลื้อย สูง 2-10 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปรี กว้าง 2.5-6 ซม. ยาว 5-15 ซม. โคนสอบมน ปลายแหลม ขอบใบจักเป็นฟันเลื่อย ก้านใบยาว 0.5-1.5 ซม. ดอกแยกเพศ ดอกเพศผู้มีกลีบรองดอก 5 กลีบ เชื่อมกันเป็นรูประฆัง กลีบดอกรูปขอบขนาน ปลายมน กว้าง 1-1.5 มม. ยาว 2.5-3 มม. เกสรผู้มี 5 อัน ยาว 3 มม. ดอกเพศเมียเหมือนดอกเพศผู้ เกสรผู้เป็นหมันยาว 1 มม. ผลค่อนข้างกลมขนาด 6-10 มม. มี 3 พู เมื่อแก่แตกออกตามสันพู เนื้อหุ้มเมล็ดสีแดง เมล็ดมี 3-6 เมล็ด รูปรี กว้าง 2-3 มม. ยาว 3.5-5 มม.
การกระจายพันธุ์ :
- จากอินเดียถึงเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ พบตามป่าดิบและป่าเบญจพรรณชื้นทั่วไป ตั้งแต่ความสูง 200-1800 เมตร
- สามารถพบต้นกระทงลายได้ทั่วไป โดยมักขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าโปร่ง ป่าดงดิบ ป่าผลัดใบ ป่าละเมาะ หรือตามพื้นที่โล่ง ที่ความสูงเหนือระดับน้ำทะเลตั้งแต่ 0-1,300 เมตร และจะพบได้มากทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเขตการกระจายพันธุ์อยู่ทางจีนตอนใต้ พม่า อินเดีย ภูมิภาคอินโดจีน ภูมิภาคมาเลเซีย จนถึงออสเตรเลีย และนิวแคลิโดเนีย สำหรับในประเทศไทยสามารถพบได้ทั่วทุกภาค
- จากอินเดียถึงเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ พบตามป่าดิบและป่าเบญจพรรณชื้นทั่วไป ตั้งแต่ความสูง 200-1800 เมตร
- จากอินเดียถึงเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ พบตามป่าดิบและป่าเบญจพรรณชื้นทั่วไป ตั้งแต่ความสูง 200-1800 เมตร
- จากอินเดียถึงเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ พบตามป่าดิบและป่าเบญจพรรณชื้นทั่วไป ตั้งแต่ความสูง 200-1800 เมตร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง