ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ยืนต้นขนาดกลางหรือใหญ่ ผลัดใบ สูง 15-25 เมตร ลำต้นเปลาตรง มีหนามทั่วไป ใบ เป็นใบเดียวลักษณะเรียงเวียนกันเป็นกลุ่มตามปลายกิ่งช่อหนึ่งมีปลายใบย่อยแผ่ออกเป็นวงกลม 5-7 ใบ เนื้อใบค่อนข้างหนา เกลี้ยง ขอบใบเรียบ ก้านช่อใบยาวโคนก้านบวมเล็กน้อย ดอก โตสีชมพูแกมเลือดหมูที่เป็นสีทองหายาก มีกลิ่นหอมเอียน ออกเป็นกระจุกหรือเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3-5 ดอก ฐานรองดอกเป็นรูปถ้วยแข็ง ๆ สีคล้ำขอบหยัก 3-4 แฉก กลีบดอกมี 5 กลีบ รูปขอบขนาน เมื่อบานเต็มที่ ขนาด 8-10 ซม. ปลายกลีบจะแผ่ออกและม้วนกลับมาทางขั้วดอก หลุดล่วงง่าย เกสรผู้มีจำนวนมาก ติดกันเป็นกลุ่ม และอยู่ติดกับฐานดอกด้านใน ผล รูปทรงกระบอก ผิวแข็ง เมื่อแก่จัดจะแตกอ้าออกตามรอย ประสาน เมล็ดเล็ก รูปทรงกลมสีดำมีจำนวนมาก ห่อหุ้มด้วยปุยฝ้ายสีขาว
- บรรยายลักษณะต้น:ไม้ต้น สูง 20-35 เมตร ใบ:ใบประกอบแบบนิ้วมือ เรียงสลับเวียน ใบย่อยรูปรี ยาว 9-15 เซนติเมตร กว้าง 4-5 เซนติเมตร ฐานสอบเรียว ปลายเรียวแหลม ขอบเรียบ ก้านใบ 5-15 มิลลิเมตร มีขนที่ผิวใบด้านล่าง ดอก:ดอกเดี่ยว ออกที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง มี 5 กลีบเชื่อมกันคล้ายรูปถ้วย สีเขียวอมแดง กลีบดอก มี 5 กลีบ แยกกัน สีส้มหรือสีแดง เกสรเพศผู้ จำนวนมาก สีขาว เกสรเพศเมีย สีแดง ผล:ผลแห้งแตก รูปไข่ หรือรูปใบหอก ยาว 10-17 เซนติเมตร กว้างประมาณ 4 เซนติเมตร ผิวนอกแข็ง เมล็ดสีดำจำนวนมากเปลือก:อื่นๆ:

ไม้ต้น สูง 20-35 เมตร
ใบประกอบแบบนิ้วมือ เรียงสลับเวียน ใบย่อยรูปรี ยาว 9-15 เซนติเมตร กว้าง 4-5 เซนติเมตร ฐานสอบเรียว ปลายเรียวแหลม ขอบเรียบ ก้านใบ 5-15 มิลลิเมตร มีขนที่ผิวใบด้านล่าง
ดอกเดี่ยว ออกที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง มี 5 กลีบเชื่อมกันคล้ายรูปถ้วย สีเขียวอมแดง กลีบดอก มี 5 กลีบ แยกกัน สีส้มหรือสีแดง เกสรเพศผู้ จำนวนมาก สีขาว เกสรเพศเมีย สีแดง
ผลแห้งแตก รูปไข่ หรือรูปใบหอก ยาว 10-17 เซนติเมตร กว้างประมาณ 4 เซนติเมตร ผิวนอกแข็ง เมล็ดสีดำจำนวนมาก

- ไม้ยืนต้นขนาดกลางหรือใหญ่ ผลัดใบ สูง 15-25 เมตร ลำต้นเปลาตรง มีหนามทั่วไป ใบ เป็นใบเดียวลักษณะเรียงเวียนกันเป็นกลุ่มตามปลายกิ่งช่อหนึ่งมีปลายใบย่อยแผ่ออกเป็นวงกลม 5-7 ใบ เนื้อใบค่อนข้างหนา เกลี้ยง ขอบใบเรียบ ก้านช่อใบยาวโคนก้านบวมเล็กน้อย ดอก โตสีชมพูแกมเลือดหมูที่เป็นสีทองหายาก มีกลิ่นหอมเอียน ออกเป็นกระจุกหรือเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3-5 ดอก ฐานรองดอกเป็นรูปถ้วยแข็ง ๆ สีคล้ำขอบหยัก 3-4 แฉก กลีบดอกมี 5 กลีบ รูปขอบขนาน เมื่อบานเต็มที่ ขนาด 8-10 ซม. ปลายกลีบจะแผ่ออกและม้วนกลับมาทางขั้วดอก หลุดล่วงง่าย เกสรผู้มีจำนวนมาก ติดกันเป็นกลุ่ม และอยู่ติดกับฐานดอกด้านใน ผล รูปทรงกระบอก ผิวแข็ง เมื่อแก่จัดจะแตกอ้าออกตามรอย ประสาน เมล็ดเล็ก รูปทรงกลมสีดำมีจำนวนมาก ห่อหุ้มด้วยปุยฝ้ายสีขาว
- ไม้ยืนต้นขนาดกลางหรือใหญ่ ผลัดใบ สูง 15-25 เมตร ลำต้นเปลาตรง มีหนามทั่วไป ใบ เป็นใบเดียวลักษณะเรียงเวียนกันเป็นกลุ่มตามปลายกิ่งช่อหนึ่งมีปลายใบย่อยแผ่ออกเป็นวงกลม 5-7 ใบ เนื้อใบค่อนข้างหนา เกลี้ยง ขอบใบเรียบ ก้านช่อใบยาวโคนก้านบวมเล็กน้อย ดอก โตสีชมพูแกมเลือดหมูที่เป็นสีทองหายาก มีกลิ่นหอมเอียน ออกเป็นกระจุกหรือเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3-5 ดอก ฐานรองดอกเป็นรูปถ้วยแข็ง ๆ สีคล้ำขอบหยัก 3-4 แฉก กลีบดอกมี 5 กลีบ รูปขอบขนาน เมื่อบานเต็มที่ ขนาด 8-10 ซม. ปลายกลีบจะแผ่ออกและม้วนกลับมาทางขั้วดอก หลุดล่วงง่าย เกสรผู้มีจำนวนมาก ติดกันเป็นกลุ่ม และอยู่ติดกับฐานดอกด้านใน ผล รูปทรงกระบอก ผิวแข็ง เมื่อแก่จัดจะแตกอ้าออกตามรอย ประสาน เมล็ดเล็ก รูปทรงกลมสีดำมีจำนวนมาก ห่อหุ้มด้วยปุยฝ้ายสีขาว
- ไม้ยืนต้นขนาดกลางหรือใหญ่ ผลัดใบ สูง 15-25 เมตร ลำต้นเปลาตรง มีหนามทั่วไป ใบ เป็นใบเดียวลักษณะเรียงเวียนกันเป็นกลุ่มตามปลายกิ่งช่อหนึ่งมีปลายใบย่อยแผ่ออกเป็นวงกลม 5-7 ใบ เนื้อใบค่อนข้างหนา เกลี้ยง ขอบใบเรียบ ก้านช่อใบยาวโคนก้านบวมเล็กน้อย ดอก โตสีชมพูแกมเลือดหมูที่เป็นสีทองหายาก มีกลิ่นหอมเอียน ออกเป็นกระจุกหรือเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3-5 ดอก ฐานรองดอกเป็นรูปถ้วยแข็ง ๆ สีคล้ำขอบหยัก 3-4 แฉก กลีบดอกมี 5 กลีบ รูปขอบขนาน เมื่อบานเต็มที่ ขนาด 8-10 ซม. ปลายกลีบจะแผ่ออกและม้วนกลับมาทางขั้วดอก หลุดล่วงง่าย เกสรผู้มีจำนวนมาก ติดกันเป็นกลุ่ม และอยู่ติดกับฐานดอกด้านใน ผล รูปทรงกระบอก ผิวแข็ง เมื่อแก่จัดจะแตกอ้าออกตามรอย ประสาน เมล็ดเล็ก รูปทรงกลมสีดำมีจำนวนมาก ห่อหุ้มด้วยปุยฝ้ายสีขาว
การกระจายพันธุ์ :
- พบขึ้นในที่ราบและป่าเบญจพรรณ ตามเชิงเขาและไหล่เขา ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 100-600 เมตร
- ป่าเบญจพรรณ
- พบขึ้นในที่ราบและป่าเบญจพรรณ ตามเชิงเขาและไหล่เขา ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 100-600 เมตร
- พบขึ้นในที่ราบและป่าเบญจพรรณ ตามเชิงเขาและไหล่เขา ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 100-600 เมตร
- พบขึ้นในที่ราบและป่าเบญจพรรณ ตามเชิงเขาและไหล่เขา ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 100-600 เมตร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาสวนกวาง ป่าชุมชนเขาวง ป่าสงวนแห่งชาติป่ายางน้ำกลัดเหนือและป่ายางน้ำกลัดใต้ ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูเป้ง ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงโพนทราย ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา ป่าสงวนแห่งชาติป่าวังใหญ่และป่าแม่น้ำน้อย ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- บริเวณจุดผ่อนปรนไทย-ลาว อำเภอสองแคว
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขากระปุก-เขาเตาหม้อ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาชีโอน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า คุ้งกระเบน
- อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกห้วยยาง
- อุทยานแห่งชาติ พุเตย
- อุทยานแห่งชาติ ศรีน่าน
- อุทยานแห่งชาติ ศรีน่าน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- น่าน
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- สระบุรี
- เพชรบุรี
- ชลบุรี
- จันทบุรี
- ระยอง, จันทบุรี
- แม่ฮ่องสอน
- ประจวบคีรีขันธ์
- สุพรรณบุรี
- น่าน
- น่าน
- ชลบุรี
- จันทบุรี
- เชียงใหม่
- ลพบุรี
- ลพบุรี
- พะเยา, น่าน
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่
- แพร่
- ชัยภูมิ
- เลย
- ราชบุรี
- แม่ฮ่องสอน
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- พะเยา
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- ตาก
- ตาก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- จัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกว้างถึงขนาดใหญ่ ลักษณะของต้นเป็นรูปทรงพุ่มเป็นรูปไข่ มีความสูงของลำต้นประมาณ 15-25 เมตร (บ้างว่าสูงประมาณ 25-30 เมตร) และความกว้างของทรงพุ่มประมาณ 15 เมตร ลำต้นมีลักษณะเปลาตรงและมีหนามอยู่ทั่วลำต้นและกิ่ง เห็นข้อปล้องไม่ชัดเจน ต้นอ่อนจะเป็นสีเขียวอ่อน เมื่อแก่จะเป็นสีเขียวเข้ม ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการใช้เมล็ด โดยจะพบขึ้นในที่ราบและตามป่าเบญจพรรณ ตามเชิงเขาและไหล่เขาที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 100-600 เมตร ซึ่งในปัจจุบันต้นงิ้วจะหาดูได้ยากมาก จะมีปลูกเฉพาะถิ่นทางภาคเหนือไม่กี่ที่เท่านั้น
- จัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกว้างถึงขนาดใหญ่ ลักษณะของต้นเป็นรูปทรงพุ่มเป็นรูปไข่ มีความสูงของลำต้นประมาณ 15-25 เมตร (บ้างว่าสูงประมาณ 25-30 เมตร) และความกว้างของทรงพุ่มประมาณ 15 เมตร ลำต้นมีลักษณะเปลาตรงและมีหนามอยู่ทั่วลำต้นและกิ่ง เห็นข้อปล้องไม่ชัดเจน ต้นอ่อนจะเป็นสีเขียวอ่อน เมื่อแก่จะเป็นสีเขียวเข้ม ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการใช้เมล็ด โดยจะพบขึ้นในที่ราบและตามป่าเบญจพรรณ ตามเชิงเขาและไหล่เขาที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 100-600 เมตร ซึ่งในปัจจุบันต้นงิ้วจะหาดูได้ยากมาก จะมีปลูกเฉพาะถิ่นทางภาคเหนือไม่กี่ที่เท่านั้น
- จัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกว้างถึงขนาดใหญ่ ลักษณะของต้นเป็นรูปทรงพุ่มเป็นรูปไข่ มีความสูงของลำต้นประมาณ 15-25 เมตร (บ้างว่าสูงประมาณ 25-30 เมตร) และความกว้างของทรงพุ่มประมาณ 15 เมตร ลำต้นมีลักษณะเปลาตรงและมีหนามอยู่ทั่วลำต้นและกิ่ง เห็นข้อปล้องไม่ชัดเจน ต้นอ่อนจะเป็นสีเขียวอ่อน เมื่อแก่จะเป็นสีเขียวเข้ม ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการใช้เมล็ด โดยจะพบขึ้นในที่ราบและตามป่าเบญจพรรณ ตามเชิงเขาและไหล่เขาที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 100-600 เมตร ซึ่งในปัจจุบันต้นงิ้วจะหาดูได้ยากมาก จะมีปลูกเฉพาะถิ่นทางภาคเหนือไม่กี่ที่เท่านั้น
- จัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกว้างถึงขนาดใหญ่ ลักษณะของต้นเป็นรูปทรงพุ่มเป็นรูปไข่ มีความสูงของลำต้นประมาณ 15-25 เมตร (บ้างว่าสูงประมาณ 25-30 เมตร) และความกว้างของทรงพุ่มประมาณ 15 เมตร ลำต้นมีลักษณะเปลาตรงและมีหนามอยู่ทั่วลำต้นและกิ่ง เห็นข้อปล้องไม่ชัดเจน ต้นอ่อนจะเป็นสีเขียวอ่อน เมื่อแก่จะเป็นสีเขียวเข้ม ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการใช้เมล็ด โดยจะพบขึ้นในที่ราบและตามป่าเบญจพรรณ ตามเชิงเขาและไหล่เขาที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 100-600 เมตร ซึ่งในปัจจุบันต้นงิ้วจะหาดูได้ยากมาก จะมีปลูกเฉพาะถิ่นทางภาคเหนือไม่กี่ที่เท่านั้น
- เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ลำต้นสูง 25-30 เมตร แตกกิ่งก้านสาขามากในช่วงเรือนยอด เป็นไม้เนื้ออ่อนมีหนามแหลม
- เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ลำต้นสูง 25-30 เมตร แตกกิ่งก้านสาขามากในช่วงเรือนยอด เป็นไม้เนื้ออ่อนมีหนามแหลม
- เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ลำต้นสูง 25-30 เมตร แตกกิ่งก้านสาขามากในช่วงเรือนยอด เป็นไม้เนื้ออ่อนมีหนามแหลม
- เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ลำต้นสูง 25-30 เมตร แตกกิ่งก้านสาขามากในช่วงเรือนยอด เป็นไม้เนื้ออ่อนมีหนามแหลม
- จัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกว้างถึงขนาดใหญ่ ลักษณะของต้นเป็นรูปทรงพุ่มเป็นรูปไข่ มีความสูงของลำต้นประมาณ 15-25 เมตร (บ้างว่าสูงประมาณ 25-30 เมตร) และความกว้างของทรงพุ่มประมาณ 15 เมตร ลำต้นมีลักษณะเปลาตรงและมีหนามอยู่ทั่วลำต้นและกิ่ง เห็นข้อปล้องไม่ชัดเจน ต้นอ่อนจะเป็นสีเขียวอ่อน เมื่อแก่จะเป็นสีเขียวเข้ม ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการใช้เมล็ด โดยจะพบขึ้นในที่ราบและตามป่าเบญจพรรณ ตามเชิงเขาและไหล่เขาที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 100-600 เมตร ซึ่งในปัจจุบันต้นงิ้วจะหาดูได้ยากมาก จะมีปลูกเฉพาะถิ่นทางภาคเหนือไม่กี่ที่เท่านั้น
- เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ลำต้นสูง 25-30 เมตร แตกกิ่งก้านสาขามากในช่วงเรือนยอด เป็นไม้เนื้ออ่อนมีหนามแหลม
การขยายพันธุ์ :
- การเพาะเมล็ด
- การเพาะเมล็ด
- การเพาะเมล็ด
- การเพาะเมล็ด
- การเพาะเมล็ด
- การเพาะเมล็ด
- การเพาะเมล็ด
- การเพาะเมล็ด
- การเพาะเมล็ด
- การเพาะเมล็ด
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- ดอกสด ต้มจิ้มน้ำพริก หรือแกงส้ม รับประทานได้
- สมุนไพร
- 1. เกสรตัวผู้จากดอกนำไปตากแห้ง ใช้โรยในขนมจีนน้ำเงี้ยวรับประทาน หรือจะใช้ปรุงเป็นแกงแคทางภาคเหนือก็อร่อยเช่นกัน อีกทั้งยังมีคุณค่าทางอาหารสูงมาก โดยมีธาตุแคลเซียมสูงถึง 429 มิลลิกรัมต่อ 100 กรัม ซึ่งสูงกว่านมที่มีแคลเซียมอยู่ประมาณ 123 มิลลิกรัม ต่อ 100 กรัม 2. เกสรตัวผู้แห้งยังสามารถนำมาใช้แต่งสีของแกงส้มหรือแกงกะหรี่เพื่อช่วยเพิ่มสีสันให้น่ารับประทานมากขึ้นได้อีกด้วย 3. ดอกสดใช้ลวกจิ้มรับประทานกับน้ำพริกและแกงส้ม 4. ดอกใช้ผสมกับข้าวโพดทำเป็นขนมแผ่นรับประทานได้ 5. ใบและยอดอ่อนใช้เป็นอาหารสำหรับสัตว์เลี้ยงได้เป็นอย่างดี 6. รากอ่อนใช้เป็นยาและใช้เป็นอาหารเมื่อยามขาดแคลน ดอกและยางใช้ทำเป็นยารักษาโรค 7. ใช้ปลูกไม้ประดับในสนามกว้าง ๆ ทั่วไป ต้นงิ้วมีรูปทรงของลำต้นที่สวยงาม สูงเด่นดูสง่า เรือนยอดแผ่กว้างให้ร่มเงาได้เป็นอย่างดี สามารถเพาะปลูกได้ง่าย เป็นไม้ผลัดใบทั้งต้นให้ดอกสีแดงหรือสีเหลืองทั้งต้น ดอกมีขนาดใหญ่ สีสันสดใสสวยงาม 8. ต้นงิ้วเป็นไม้เนื้ออ่อน สีขาวหรือเหลืองอ่อน เสี้ยนหยาบ ไม่ทนทานมากนัก ผุและเปื่อยได้ง่าย นิยมนำมาใช้ทำหีบและลังสำหรับใส่ของ ใช้ทำไม้อัด ไม้จิ้มฟัน ก้านไม้ขีด กล่องไม้ขีด ทำของเล่นเด็ก ใช้ทำเยื่อกระดาษก็ได้ ส่วนชาวกระเหรี่ยงแดงจะใช้เนื้อไม้สำหรับสร้างบ้าน หรือนำมาแปรรูปทำไม้แบบหรือไม้ต่อโลงศพ ปราสาทเผาศพ 9. เปลือกต้นให้เส้นใย สามารถนำมาใช้ทำเชือกได้ โดยจะมีความเหนียวมากแต่จะแข็งและหยาบ จึงเหมาะที่จะใช้มัดของใหญ่ ๆ 10. ปุยนุ่นของฝักหรือผลแก่สามารถนำมาใช้ทำเครื่องนุ่งห่ม ด้วยการนำมาใช้ยัดเบาะ ฟูก หมอน ฯลฯ 11. ใช้ทำชนวนตู้เย็น เข้าใจว่าคือเส้นใยหรือยุ่ยจากฝัก 12. น้ำมันจากเมล็ดสามารถนำมาใช้ปรุงอาหาร ใช้ทำสบู่ได้ 13. ชาวเหนือและชาวภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะนำเปลือกงิ้วแดงมาทำสี โดยจะให้สีน้ำเงิน ใช้สำหรับย้อมสีจำพวกผ้าฝ้ายได้
- 1. เกสรตัวผู้จากดอกนำไปตากแห้ง ใช้โรยในขนมจีนน้ำเงี้ยวรับประทาน หรือจะใช้ปรุงเป็นแกงแคทางภาคเหนือก็อร่อยเช่นกัน อีกทั้งยังมีคุณค่าทางอาหารสูงมาก โดยมีธาตุแคลเซียมสูงถึง 429 มิลลิกรัมต่อ 100 กรัม ซึ่งสูงกว่านมที่มีแคลเซียมอยู่ประมาณ 123 มิลลิกรัม ต่อ 100 กรัม 2. เกสรตัวผู้แห้งยังสามารถนำมาใช้แต่งสีของแกงส้มหรือแกงกะหรี่เพื่อช่วยเพิ่มสีสันให้น่ารับประทานมากขึ้นได้อีกด้วย 3. ดอกสดใช้ลวกจิ้มรับประทานกับน้ำพริกและแกงส้ม 4. ดอกใช้ผสมกับข้าวโพดทำเป็นขนมแผ่นรับประทานได้ 5. ใบและยอดอ่อนใช้เป็นอาหารสำหรับสัตว์เลี้ยงได้เป็นอย่างดี 6. รากอ่อนใช้เป็นยาและใช้เป็นอาหารเมื่อยามขาดแคลน ดอกและยางใช้ทำเป็นยารักษาโรค 7. ใช้ปลูกไม้ประดับในสนามกว้าง ๆ ทั่วไป ต้นงิ้วมีรูปทรงของลำต้นที่สวยงาม สูงเด่นดูสง่า เรือนยอดแผ่กว้างให้ร่มเงาได้เป็นอย่างดี สามารถเพาะปลูกได้ง่าย เป็นไม้ผลัดใบทั้งต้นให้ดอกสีแดงหรือสีเหลืองทั้งต้น ดอกมีขนาดใหญ่ สีสันสดใสสวยงาม 8. ต้นงิ้วเป็นไม้เนื้ออ่อน สีขาวหรือเหลืองอ่อน เสี้ยนหยาบ ไม่ทนทานมากนัก ผุและเปื่อยได้ง่าย นิยมนำมาใช้ทำหีบและลังสำหรับใส่ของ ใช้ทำไม้อัด ไม้จิ้มฟัน ก้านไม้ขีด กล่องไม้ขีด ทำของเล่นเด็ก ใช้ทำเยื่อกระดาษก็ได้ ส่วนชาวกระเหรี่ยงแดงจะใช้เนื้อไม้สำหรับสร้างบ้าน หรือนำมาแปรรูปทำไม้แบบหรือไม้ต่อโลงศพ ปราสาทเผาศพ 9. เปลือกต้นให้เส้นใย สามารถนำมาใช้ทำเชือกได้ โดยจะมีความเหนียวมากแต่จะแข็งและหยาบ จึงเหมาะที่จะใช้มัดของใหญ่ ๆ 10. ปุยนุ่นของฝักหรือผลแก่สามารถนำมาใช้ทำเครื่องนุ่งห่ม ด้วยการนำมาใช้ยัดเบาะ ฟูก หมอน ฯลฯ 11. ใช้ทำชนวนตู้เย็น เข้าใจว่าคือเส้นใยหรือยุ่ยจากฝัก 12. น้ำมันจากเมล็ดสามารถนำมาใช้ปรุงอาหาร ใช้ทำสบู่ได้ 13. ชาวเหนือและชาวภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะนำเปลือกงิ้วแดงมาทำสี โดยจะให้สีน้ำเงิน ใช้สำหรับย้อมสีจำพวกผ้าฝ้ายได้
- 1. เกสรตัวผู้จากดอกนำไปตากแห้ง ใช้โรยในขนมจีนน้ำเงี้ยวรับประทาน หรือจะใช้ปรุงเป็นแกงแคทางภาคเหนือก็อร่อยเช่นกัน อีกทั้งยังมีคุณค่าทางอาหารสูงมาก โดยมีธาตุแคลเซียมสูงถึง 429 มิลลิกรัมต่อ 100 กรัม ซึ่งสูงกว่านมที่มีแคลเซียมอยู่ประมาณ 123 มิลลิกรัม ต่อ 100 กรัม 2. เกสรตัวผู้แห้งยังสามารถนำมาใช้แต่งสีของแกงส้มหรือแกงกะหรี่เพื่อช่วยเพิ่มสีสันให้น่ารับประทานมากขึ้นได้อีกด้วย 3. ดอกสดใช้ลวกจิ้มรับประทานกับน้ำพริกและแกงส้ม 4. ดอกใช้ผสมกับข้าวโพดทำเป็นขนมแผ่นรับประทานได้ 5. ใบและยอดอ่อนใช้เป็นอาหารสำหรับสัตว์เลี้ยงได้เป็นอย่างดี 6. รากอ่อนใช้เป็นยาและใช้เป็นอาหารเมื่อยามขาดแคลน ดอกและยางใช้ทำเป็นยารักษาโรค 7. ใช้ปลูกไม้ประดับในสนามกว้าง ๆ ทั่วไป ต้นงิ้วมีรูปทรงของลำต้นที่สวยงาม สูงเด่นดูสง่า เรือนยอดแผ่กว้างให้ร่มเงาได้เป็นอย่างดี สามารถเพาะปลูกได้ง่าย เป็นไม้ผลัดใบทั้งต้นให้ดอกสีแดงหรือสีเหลืองทั้งต้น ดอกมีขนาดใหญ่ สีสันสดใสสวยงาม 8. ต้นงิ้วเป็นไม้เนื้ออ่อน สีขาวหรือเหลืองอ่อน เสี้ยนหยาบ ไม่ทนทานมากนัก ผุและเปื่อยได้ง่าย นิยมนำมาใช้ทำหีบและลังสำหรับใส่ของ ใช้ทำไม้อัด ไม้จิ้มฟัน ก้านไม้ขีด กล่องไม้ขีด ทำของเล่นเด็ก ใช้ทำเยื่อกระดาษก็ได้ ส่วนชาวกระเหรี่ยงแดงจะใช้เนื้อไม้สำหรับสร้างบ้าน หรือนำมาแปรรูปทำไม้แบบหรือไม้ต่อโลงศพ ปราสาทเผาศพ 9. เปลือกต้นให้เส้นใย สามารถนำมาใช้ทำเชือกได้ โดยจะมีความเหนียวมากแต่จะแข็งและหยาบ จึงเหมาะที่จะใช้มัดของใหญ่ ๆ 10. ปุยนุ่นของฝักหรือผลแก่สามารถนำมาใช้ทำเครื่องนุ่งห่ม ด้วยการนำมาใช้ยัดเบาะ ฟูก หมอน ฯลฯ 11. ใช้ทำชนวนตู้เย็น เข้าใจว่าคือเส้นใยหรือยุ่ยจากฝัก 12. น้ำมันจากเมล็ดสามารถนำมาใช้ปรุงอาหาร ใช้ทำสบู่ได้ 13. ชาวเหนือและชาวภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะนำเปลือกงิ้วแดงมาทำสี โดยจะให้สีน้ำเงิน ใช้สำหรับย้อมสีจำพวกผ้าฝ้ายได้
- 1. เกสรตัวผู้จากดอกนำไปตากแห้ง ใช้โรยในขนมจีนน้ำเงี้ยวรับประทาน หรือจะใช้ปรุงเป็นแกงแคทางภาคเหนือก็อร่อยเช่นกัน อีกทั้งยังมีคุณค่าทางอาหารสูงมาก โดยมีธาตุแคลเซียมสูงถึง 429 มิลลิกรัมต่อ 100 กรัม ซึ่งสูงกว่านมที่มีแคลเซียมอยู่ประมาณ 123 มิลลิกรัม ต่อ 100 กรัม 2. เกสรตัวผู้แห้งยังสามารถนำมาใช้แต่งสีของแกงส้มหรือแกงกะหรี่เพื่อช่วยเพิ่มสีสันให้น่ารับประทานมากขึ้นได้อีกด้วย 3. ดอกสดใช้ลวกจิ้มรับประทานกับน้ำพริกและแกงส้ม 4. ดอกใช้ผสมกับข้าวโพดทำเป็นขนมแผ่นรับประทานได้ 5. ใบและยอดอ่อนใช้เป็นอาหารสำหรับสัตว์เลี้ยงได้เป็นอย่างดี 6. รากอ่อนใช้เป็นยาและใช้เป็นอาหารเมื่อยามขาดแคลน ดอกและยางใช้ทำเป็นยารักษาโรค 7. ใช้ปลูกไม้ประดับในสนามกว้าง ๆ ทั่วไป ต้นงิ้วมีรูปทรงของลำต้นที่สวยงาม สูงเด่นดูสง่า เรือนยอดแผ่กว้างให้ร่มเงาได้เป็นอย่างดี สามารถเพาะปลูกได้ง่าย เป็นไม้ผลัดใบทั้งต้นให้ดอกสีแดงหรือสีเหลืองทั้งต้น ดอกมีขนาดใหญ่ สีสันสดใสสวยงาม 8. ต้นงิ้วเป็นไม้เนื้ออ่อน สีขาวหรือเหลืองอ่อน เสี้ยนหยาบ ไม่ทนทานมากนัก ผุและเปื่อยได้ง่าย นิยมนำมาใช้ทำหีบและลังสำหรับใส่ของ ใช้ทำไม้อัด ไม้จิ้มฟัน ก้านไม้ขีด กล่องไม้ขีด ทำของเล่นเด็ก ใช้ทำเยื่อกระดาษก็ได้ ส่วนชาวกระเหรี่ยงแดงจะใช้เนื้อไม้สำหรับสร้างบ้าน หรือนำมาแปรรูปทำไม้แบบหรือไม้ต่อโลงศพ ปราสาทเผาศพ 9. เปลือกต้นให้เส้นใย สามารถนำมาใช้ทำเชือกได้ โดยจะมีความเหนียวมากแต่จะแข็งและหยาบ จึงเหมาะที่จะใช้มัดของใหญ่ ๆ 10. ปุยนุ่นของฝักหรือผลแก่สามารถนำมาใช้ทำเครื่องนุ่งห่ม ด้วยการนำมาใช้ยัดเบาะ ฟูก หมอน ฯลฯ 11. ใช้ทำชนวนตู้เย็น เข้าใจว่าคือเส้นใยหรือยุ่ยจากฝัก 12. น้ำมันจากเมล็ดสามารถนำมาใช้ปรุงอาหาร ใช้ทำสบู่ได้ 13. ชาวเหนือและชาวภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะนำเปลือกงิ้วแดงมาทำสี โดยจะให้สีน้ำเงิน ใช้สำหรับย้อมสีจำพวกผ้าฝ้ายได้
- 1. เกสรตัวผู้จากดอกนำไปตากแห้ง ใช้โรยในขนมจีนน้ำเงี้ยวรับประทาน หรือจะใช้ปรุงเป็นแกงแคทางภาคเหนือก็อร่อยเช่นกัน อีกทั้งยังมีคุณค่าทางอาหารสูงมาก โดยมีธาตุแคลเซียมสูงถึง 429 มิลลิกรัมต่อ 100 กรัม ซึ่งสูงกว่านมที่มีแคลเซียมอยู่ประมาณ 123 มิลลิกรัม ต่อ 100 กรัม 2. เกสรตัวผู้แห้งยังสามารถนำมาใช้แต่งสีของแกงส้มหรือแกงกะหรี่เพื่อช่วยเพิ่มสีสันให้น่ารับประทานมากขึ้นได้อีกด้วย 3. ดอกสดใช้ลวกจิ้มรับประทานกับน้ำพริกและแกงส้ม 4. ดอกใช้ผสมกับข้าวโพดทำเป็นขนมแผ่นรับประทานได้ 5. ใบและยอดอ่อนใช้เป็นอาหารสำหรับสัตว์เลี้ยงได้เป็นอย่างดี 6. รากอ่อนใช้เป็นยาและใช้เป็นอาหารเมื่อยามขาดแคลน ดอกและยางใช้ทำเป็นยารักษาโรค 7. ใช้ปลูกไม้ประดับในสนามกว้าง ๆ ทั่วไป ต้นงิ้วมีรูปทรงของลำต้นที่สวยงาม สูงเด่นดูสง่า เรือนยอดแผ่กว้างให้ร่มเงาได้เป็นอย่างดี สามารถเพาะปลูกได้ง่าย เป็นไม้ผลัดใบทั้งต้นให้ดอกสีแดงหรือสีเหลืองทั้งต้น ดอกมีขนาดใหญ่ สีสันสดใสสวยงาม 8. ต้นงิ้วเป็นไม้เนื้ออ่อน สีขาวหรือเหลืองอ่อน เสี้ยนหยาบ ไม่ทนทานมากนัก ผุและเปื่อยได้ง่าย นิยมนำมาใช้ทำหีบและลังสำหรับใส่ของ ใช้ทำไม้อัด ไม้จิ้มฟัน ก้านไม้ขีด กล่องไม้ขีด ทำของเล่นเด็ก ใช้ทำเยื่อกระดาษก็ได้ ส่วนชาวกระเหรี่ยงแดงจะใช้เนื้อไม้สำหรับสร้างบ้าน หรือนำมาแปรรูปทำไม้แบบหรือไม้ต่อโลงศพ ปราสาทเผาศพ 9. เปลือกต้นให้เส้นใย สามารถนำมาใช้ทำเชือกได้ โดยจะมีความเหนียวมากแต่จะแข็งและหยาบ จึงเหมาะที่จะใช้มัดของใหญ่ ๆ 10. ปุยนุ่นของฝักหรือผลแก่สามารถนำมาใช้ทำเครื่องนุ่งห่ม ด้วยการนำมาใช้ยัดเบาะ ฟูก หมอน ฯลฯ 11. ใช้ทำชนวนตู้เย็น เข้าใจว่าคือเส้นใยหรือยุ่ยจากฝัก 12. น้ำมันจากเมล็ดสามารถนำมาใช้ปรุงอาหาร ใช้ทำสบู่ได้ 13. ชาวเหนือและชาวภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะนำเปลือกงิ้วแดงมาทำสี โดยจะให้สีน้ำเงิน ใช้สำหรับย้อมสีจำพวกผ้าฝ้ายได้
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2020)
ที่มาของข้อมูล