ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น สูง 10-20 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรี ท้องใบมีขนนุ่ม กว้าง 1-6.5 ซม. ยาว 2.5-14 ซม. ดอก สีขาว กลีบเลี้ยง รูปถ้วย ยาว 1-2 มม. ผิวด้านนอกมีขน กลีบดอกเป็นหลอด ยาว 2-5 มม. ปลายแยกเป็นกลีบ 5 กลีบ รูปขอบขนานยาว 7-14 มม. มีขนนุ่มทั้งสองด้าน เกสรเพศผู้ติดที่หลอดกลีบดอก รังไข่ยาว 1-2 มม. ผล แห้งแตก กว้าง 0.6-1.8 ซม. ยาว 10-20 ซม. เมล็ดมีขนโดยรอบ
-
ไม้ต้น สูง 10-20 เมตร เปลือกสีน้ำตาล ผิวเรียบหรือแตกเป็นร่องตื้นๆ มีช่องอากาศ ทุกส่วนมียางสีขาว ข้น ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรี รูปไข่หรือรูปไข่กลับ ปลายใบเรียวแหลม โคนใบแหลม ขอบใบเรียบ ผิวใบมีขนอ่อนนุ่มทั้งสองด้าน ดอกช่อ แบบช่อกระจุก ออกตามซอกใบและปลายกิ่ง ดอกสีขาวนวล หรือมีแต้มสีเหลือง ดอกแก่สีเหลือง กลีบเลี้ยง รูปถ้วย ด้านในมีขนและมีต่อม กลีบดอกมี 5 กลีบ เรียงเวียนรูปกังหัน มีขนทั้งสองด้าน เกสรเพศผู้ติดที่หลอดกลีบดอก ผลแบบฝัก เป็นคู่ ยาว สีน้ำตาล มีช่องอากาศที่เปลือก ผลแห้ง แตกตามตะเข็บแนวเดียว เมล็ดมีจำนวนมาก สีน้ำตาล มีขนสีขาวเป็นพู่ติดอยู่ที่เมล็ด
-
ไม้ต้น สูง 10-20 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรี ท้องใบมีขนนุ่ม กว้าง 1-6.5 ซม. ยาว 2.5-14 ซม. ดอก สีขาว กลีบเลี้ยง รูปถ้วย ยาว 1-2 มม. ผิวด้านนอกมีขน กลีบดอกเป็นหลอด ยาว 2-5 มม. ปลายแยกเป็นกลีบ 5 กลีบ รูปขอบขนานยาว 7-14 มม. มีขนนุ่มทั้งสองด้าน เกสรเพศผู้ติดที่หลอดกลีบดอก รังไข่ยาว 1-2 มม. ผล แห้งแตก กว้าง 0.6-1.8 ซม. ยาว 10-20 ซม. เมล็ดมีขนโดยรอบ
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก-กลาง สูง 10-20 เมตร เรือนยอดกลม ใบ: ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามกัน รูปรีหรือรูปหอก หรือรูปไข่แกมรี ปลายแหลม ฐานแหลมหรือเบี้ยว ขอบเรียบหรือมีขน ใบมีขนทั้งสองด้าน เส้นใบแบบโค้งคันศรใบแก่ก่อนร่วงมีสีเหลือง ขนาด 3.5-6 x 8-14 เซนติเมตร ดอก: เป็นช่อแบบ compound dichasium เกิดที่ปลายกิ่ง ช่อยาว 3.5-7 เซนติเมตร กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ปลายกลีบแยก 5 แฉก สีเขียว กลีบดอกโคนติดกันเป็นหลอด ปลายแยก 5 แฉก สีขาว บางครั้งมีแต้มสีเหลืองหรือเขียว มีกลิ่มหอม เกสรเพศผู้รูปหัวลูกศร มีขนสั้นนุ่่ม รังไข่อยู่เหนือวงกลีบ คาร์เพลเชื่อม 2 อัน ผล: ผลเป็นฝักคู่ มีร่องตามยาวทั้ง 2 ข้าง ผิวของฝักมีช่องอากาศ ผิวขรุขระ เปลือกของฝักมีสีน้ำตาลแดง ฝักแก่มีสีน้ำตาลดำ แตกตามร่องของฝัก เมล็ดขนาดเล็ก ส่วนบนสุดมีขนเป็นกระจุก
เปลือก: เปลือกนอกสีน้ำตาลหรือน้ำตาลเทา แตกเป็นร่องสี่เหลี่ยม เปลือกในสีเหลือง มีน้ำยางสีขาว ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. ใบรูปรี ยาว 3-18 ซม. ก้านใบยาว 2-7 มม. ช่อดอกยาว 2-7 ซม. ก้านดอกยาว 0.5-1 ซม. กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาว 1-3 มม. ดอกสีขาวอมเขียว เหลืองอ่อน หรือสีชมพู หลอดกลีบดอกยาว 3-7 มม. กลีบรูปขอบขนาน ยาว 0.8-1.5 ซม. โคนเรียว กะบัง 2 ชั้น แผ่กว้าง ด้านนอกมีขนกระจาย กะบังหน้ากลีบดอกแนบติดกลีบดอกประมาณกึ่งหนึ่ง จักเป็นคลื่น กะบังระหว่างกลีบดอกรูปตัววี สั้นกว่ากะบังหน้ากลีบดอกเล็กน้อย เกสรเพศผู้ติดบนคอหลอดกลีบดอก อับเรณูยาว 5-6 มม. รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียยาว 6-8 มม. รวมยอดเกสร ผลรูปกระสวยติดกัน แห้งแยกกัน ยาว 10-34 ซม. มีช่องอากาศ เมล็ดยาว 1.5-1.7 ซม. กระจุกขนยาว 5-6 ซม.
เปลือก: เปลือกนอกสีน้ำตาลหรือน้ำตาลเทา แตกเป็นร่องสี่เหลี่ยม เปลือกในสีเหลือง มีน้ำยางสีขาว ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. ใบรูปรี ยาว 3-18 ซม. ก้านใบยาว 2-7 มม. ช่อดอกยาว 2-7 ซม. ก้านดอกยาว 0.5-1 ซม. กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาว 1-3 มม. ดอกสีขาวอมเขียว เหลืองอ่อน หรือสีชมพู หลอดกลีบดอกยาว 3-7 มม. กลีบรูปขอบขนาน ยาว 0.8-1.5 ซม. โคนเรียว กะบัง 2 ชั้น แผ่กว้าง ด้านนอกมีขนกระจาย กะบังหน้ากลีบดอกแนบติดกลีบดอกประมาณกึ่งหนึ่ง จักเป็นคลื่น กะบังระหว่างกลีบดอกรูปตัววี สั้นกว่ากะบังหน้ากลีบดอกเล็กน้อย เกสรเพศผู้ติดบนคอหลอดกลีบดอก อับเรณูยาว 5-6 มม. รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียยาว 6-8 มม. รวมยอดเกสร ผลรูปกระสวยติดกัน แห้งแยกกัน ยาว 10-34 ซม. มีช่องอากาศ เมล็ดยาว 1.5-1.7 ซม. กระจุกขนยาว 5-6 ซม.
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. ใบรูปรี ยาว 3–18 ซม. ก้านใบยาว 2–7 มม. ช่อดอกยาว 2–7 ซม. ก้านดอกยาว 0.5–1 ซม. กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาว 1–3 มม. ดอกสีขาวอมเขียว เหลืองอ่อน หรือสีชมพู หลอดกลีบดอกยาว 3–7 มม. กลีบรูปขอบขนาน ยาว 0.8–1.5 ซม. โคนเรียว กะบัง 2 ชั้น แผ่กว้าง ด้านนอกมีขนกระจาย กะบังหน้ากลีบดอกแนบติดกลีบดอกประมาณกึ่งหนึ่ง จักเป็นคลื่น กะบังระหว่างกลีบดอกรูปตัววี สั้นกว่ากะบังหน้ากลีบดอกเล็กน้อย เกสรเพศผู้ติดบนคอหลอดกลีบดอก อับเรณูยาว 5–6 มม. รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียยาว 6–8 มม. รวมยอดเกสร ผลรูปกระสวยติดกัน แห้งแยกกัน ยาว 10–34 ซม. มีช่องอากาศ เมล็ดยาว 1.5–1.7 ซม. กระจุกขนยาว 5–6 ซม.
-
ไม้พุ่มต้นขนาดกลาง ผลัดใบ สูง 8 – 20 ม. ลำต้นตรง เปลือกนอกสีเทาอ่อนถึงน้ำตาล แตกเป็นร่องยาวตามลำต้น
-
จัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กผลัดใบ มีความสูงของต้นประมาณ 5-15 เมตร เปลือกลำต้นเป็นสีขาวหรือสีเทาอ่อน เปลือกต้นแตกเป็นร่องตื้นๆ ตามยาว มีขนสีขาวตามกิ่งอ่อนและยอดอ่อน มีรูอากาศมาก ที่เปลือกด้านในมีน้ำยางสีขาว
การกระจายพันธุ์ :
-
พบตามป่าผลัดใบ ที่ระดับความสูงไม่เกิน 1,000 เมตร ออกดอกเดือน เม.ย. ติดผลเดือน พ.ค.
-
กระจายพันธุ์ในเขตเอเชียตะวันออกถึงประเทศจีนตอนใต้ ประเทศอินเดีย ศรีลังกา เนปาล บังคลาเทศ พม่า ประเทศไทย ลาว เวียดนาม และมาเลเซีย
-
พบตามป่าผลัดใบ ที่ระดับความสูงไม่เกิน 1,000 เมตร ออกดอกเดือน เม.ย. ติดผลเดือน พ.ค.
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
บริเวณน้ำตกแม่พลู บ้านต้นเกลือ ตำบลแม่พูล อำเภอลับแล
-
ภูผาเทิบ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขากระปุก-เขาเตาหม้อ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาท่าเพชร
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาประทับช้าง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอนศิลา
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ถ้ำประทุน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ลุ่มน้ำปายฝั่งซ้าย
-
อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาสามร้อยยอด
-
อุทยานแห่งชาติ เขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด
-
อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำปลา-น้ำตกผาเสื่อ
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
-
อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำพอง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำพอง
-
อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
-
อุทยานแห่งชาติ พุเตย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูจอง-นายอย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูจอง-นายอย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
-
อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
-
อุทยานแห่งชาติ ภูเวียง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
-
อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
-
อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
-
อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
-
อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
-
อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะเภตรา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
สุรินทร์
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์
-
มุกดาหาร
-
สระบุรี
-
สระบุรี
-
เพชรบุรี
-
สุราษฎร์ธานี
-
ราชบุรี
-
พิษณุโลก
-
เชียงราย
-
ลำปาง
-
อุทัยธานี
-
พะเยา, เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
นครราชสีมา
-
นครราชสีมา
-
อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
เชียงราย
-
เพชรบูรณ์
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
ประจวบคีรีขันธ์
-
ระยอง
-
ลำปาง
-
พะเยา
-
ชัยภูมิ
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
-
ตาก
-
แม่ฮ่องสอน
-
สระบุรี
-
สระบุรี
-
ขอนแก่น, ชัยภูมิ
-
ขอนแก่น, ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
สุพรรณบุรี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
พะเยา, เชียงราย
-
มุกดาหาร
-
สกลนคร, กาฬสินธุ์
-
ชัยภูมิ
-
ขอนแก่น
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
เชียงราย, พะเยา
-
ลำปาง, ตาก
-
เชียงใหม่
-
สุโขทัย
-
ตาก
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
ตรัง, สตูล
-
ชลบุรี
-
ชลบุรี
-
เชียงใหม่
-
ลพบุรี
-
ลพบุรี
-
ลพบุรี
-
บุรีรัมย์
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่
-
แพร่
-
แพร่
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
พังงา
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
ชัยภูมิ
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
เลย
-
เลย
-
เพชรบูรณ์
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
บึงกาฬ
-
บึงกาฬ
-
กาฬสินธุ์
-
กาฬสินธุ์
-
ตาก
-
ราชบุรี
-
ราชบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
เชียงใหม่
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
พะเยา
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
เชียงใหม่
-
กาญจนบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
เชียงใหม่
-
ตาก
-
ลำปาง
-
ป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก
-
ไม้ยืนต้น
-
ใบ - ใบเป็นใบเดี่ยวออกเรียงตรงข้ามกันสลับตั้งฉาก ลักษณะของใบเป็นรูปรีหรือรูปไข่ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 3-8 เซนติเมตรและยาวประมาณ 7-18 เซนติเมตร ปลายใบแหลมหรือเรียวแหลม โคนใบสอบ ส่วนขอบใบเรียบไม่มีหยัก พื้นผิวใบบางคล้ายแผ่นกระดาษ แผ่นใบมีขนนุ่มทั้งสองด้าน ด้านบนมีขนเฉพาะที่เส้นกลางใบหรือมีขนทั่วไป ส่วนด้านล่างมีขนที่เส้นกลางใบและเส้นแขนงใบอย่างทั่วถึง มีเส้นแขนงใบข้างละประมาณ 8-12 เส้น ก้านใบยาวประมาณ 2-7 มิลลิเมตร มีขนสั้นนุ่มประปราย
ดอก - ออกดอกเป็นช่อกระจุกตามปลายกิ่ง ช่อหนึ่งยาวประมาณ 3-6 เซนติเมตร ดอกเป็นสีขาวอมเหลือ ดอกมีกลิ่นหอม ก้านช่อดอกและก้านดอกย่อยมีขนสั้นนุ่มขึ้นอยู่ประปรายถึงหนาแน่น กลีบดอกมี 5 กลีบ กลีบดอกบิด โคนกลีบเชื่อมติดกันเป็นหลอด ยาวประมาณ 4-5 มิลลิเมตร กลีบดอกเป็นรูปรี รูปรีแกมรูปไข่กลับ หรือเป็นรูปไข่กลับ ปลายมน มีขนาดกว้างประมาณ 4-6 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 0.8-1.2 เซนติเมตร ปลายหลอดกลีบดอกก้านดอกมีขนสั้นนุ่ม ส่วนด้านในเกลี้ยงถึง
มีขนละเอียด กระบังรอบที่ติดตรงข้ามกลีบดอกยาวประมาณ 3.5-5 มิลลิเมตร ติดแนบเกือบตลอดความยาว ปลายจักเป็นซี่ฟัน กระบังรอบที่ติดสลับกับกลีบดอกยาวประมาณ 1.5- มิลลิเมตร ลักษณะเป็นรูปแถบ ปลายแยกเป็นแฉก 2 แฉก ภายในหลอดดอกมีทั้งเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย เกสรเพศผู้จะติดบนหลอดกลีบดอก โผล่พ้นมาจากปากหลอด อับเรณูเป็นรูปหัวลูกศร มีขนสั้นนุ่มที่ด้านนอก รัง
ไข่จะอยู่เหนือวงกลีบ คาร์เพลเชื่อม 2 อัน ส่วนกลีบเลี้ยงดอกโคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็นแฉก 5 แฉก กลีบเลี้ยงมีลักษณะเป็นรูปไข่ ปลายมนถึงแหลม มีขนสั้นนุ่มอยู่ประปรายถึงหนาแน่น กลีบเลี้ยงกว้างประมาณ 2-3 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 2.5-5 มิลลิเมตร ดอกแรกบานจะเป็นสีขาวอมเหลือง ข้างนอกเป็นสีเขียวอ่อน และเมื่อดอกบานเต็มที่จะมีขนาดกว้างประมาณ 1 นิ้ว และจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงหรือสีแดงม่วง โดยจะออกดอกในช่วงเดือนเมษายนถึงเดือนสิงหาคม
ผล - ออกผลเป็นฝักยาวคิดคู่กันและห้อยลง ลักษณะของฝักเป็นรูปทรงกระบอก เป็นร่อง 2 ร่อง มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 8-11 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 7-14 นิ้ว พื้นผิวฝักเกลี้ยงหรือขรุขระ ไม่มีรูอากาศ ฝักเมื่อแก่เต็มแห้งแล้วจะแตกออกได้ ภายในมีเมล็ดเป็นจำนวนมาก ลักษณะของเมล็ดเป็นรูปรีหรือ
รูปแถบ มีขนาดกว้างประมาณ 1.5-2.5 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 12-16 มิลลิเมตร ที่ปลายด้านหนึ่งมีขนปุยสีขาวเป็นกระจุกติดอยู่ กระจุกขนยาวประมาณ 2-4 มิลลิเมตร ทำให้ปลิวไปตามลมได้ไกล โดยจะติดผลในช่วงประมาณเดือนสิงหาคมถึงเดือนธันวาคม
ดอก - ออกดอกเป็นช่อกระจุกตามปลายกิ่ง ช่อหนึ่งยาวประมาณ 3-6 เซนติเมตร ดอกเป็นสีขาวอมเหลือ ดอกมีกลิ่นหอม ก้านช่อดอกและก้านดอกย่อยมีขนสั้นนุ่มขึ้นอยู่ประปรายถึงหนาแน่น กลีบดอกมี 5 กลีบ กลีบดอกบิด โคนกลีบเชื่อมติดกันเป็นหลอด ยาวประมาณ 4-5 มิลลิเมตร กลีบดอกเป็นรูปรี รูปรีแกมรูปไข่กลับ หรือเป็นรูปไข่กลับ ปลายมน มีขนาดกว้างประมาณ 4-6 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 0.8-1.2 เซนติเมตร ปลายหลอดกลีบดอกก้านดอกมีขนสั้นนุ่ม ส่วนด้านในเกลี้ยงถึง
มีขนละเอียด กระบังรอบที่ติดตรงข้ามกลีบดอกยาวประมาณ 3.5-5 มิลลิเมตร ติดแนบเกือบตลอดความยาว ปลายจักเป็นซี่ฟัน กระบังรอบที่ติดสลับกับกลีบดอกยาวประมาณ 1.5- มิลลิเมตร ลักษณะเป็นรูปแถบ ปลายแยกเป็นแฉก 2 แฉก ภายในหลอดดอกมีทั้งเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย เกสรเพศผู้จะติดบนหลอดกลีบดอก โผล่พ้นมาจากปากหลอด อับเรณูเป็นรูปหัวลูกศร มีขนสั้นนุ่มที่ด้านนอก รัง
ไข่จะอยู่เหนือวงกลีบ คาร์เพลเชื่อม 2 อัน ส่วนกลีบเลี้ยงดอกโคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็นแฉก 5 แฉก กลีบเลี้ยงมีลักษณะเป็นรูปไข่ ปลายมนถึงแหลม มีขนสั้นนุ่มอยู่ประปรายถึงหนาแน่น กลีบเลี้ยงกว้างประมาณ 2-3 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 2.5-5 มิลลิเมตร ดอกแรกบานจะเป็นสีขาวอมเหลือง ข้างนอกเป็นสีเขียวอ่อน และเมื่อดอกบานเต็มที่จะมีขนาดกว้างประมาณ 1 นิ้ว และจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงหรือสีแดงม่วง โดยจะออกดอกในช่วงเดือนเมษายนถึงเดือนสิงหาคม
ผล - ออกผลเป็นฝักยาวคิดคู่กันและห้อยลง ลักษณะของฝักเป็นรูปทรงกระบอก เป็นร่อง 2 ร่อง มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 8-11 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 7-14 นิ้ว พื้นผิวฝักเกลี้ยงหรือขรุขระ ไม่มีรูอากาศ ฝักเมื่อแก่เต็มแห้งแล้วจะแตกออกได้ ภายในมีเมล็ดเป็นจำนวนมาก ลักษณะของเมล็ดเป็นรูปรีหรือ
รูปแถบ มีขนาดกว้างประมาณ 1.5-2.5 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 12-16 มิลลิเมตร ที่ปลายด้านหนึ่งมีขนปุยสีขาวเป็นกระจุกติดอยู่ กระจุกขนยาวประมาณ 2-4 มิลลิเมตร ทำให้ปลิวไปตามลมได้ไกล โดยจะติดผลในช่วงประมาณเดือนสิงหาคมถึงเดือนธันวาคม
ระบบนิเวศ :
-
ขึ้นตามชายป่าหรือในป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ ความสูง 200-1500 เมตร พบตามพื้นที่ถูกแผ้วถาง ทุ่งหญ้า ป่าผลัดใบและชายป่าดิบ
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
โครงการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนในท้องถิ่น, กองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช