ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้เลื้อย มียางสีขาว ช่อดอกออกที่ปลายยอดและซอกใบ ดอกสีขาวขนาดเล็ก จำนวนมาก โคนเชื่อมกันเป็นหลอดสั้น ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลิ่นหอม ผลยาวได้ถึง 27 ซม. มีส่วนคอดระหว่างเมล็ด ออกดอกเดือนกันยายน
- ไม้เถา
- ไม้เลื้อย มียางสีขาว ช่อดอกออกที่ปลายยอดและซอกใบ ดอกสีขาวขนาดเล็ก จำนวนมาก โคนเชื่อมกันเป็นหลอดสั้น ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลิ่นหอม ผลยาวได้ถึง 27 ซม. มีส่วนคอดระหว่างเมล็ด ออกดอกเดือนกันยายน
- ม้เถา ใบเรียงตรงข้ามหรือเรียงรอบข้อ 3 ใบ รูปรี รูปไข่ หรือรูปขอบขนาน มีขนหยาบตามซอกเส้นแขนงใบด้านล่างคล้ายตุ่มใบ ช่อดอกแบบช่อกระจุกสั้น ๆ แยกแขนง ออกที่ปลายกิ่งหรือกิ่ง ยาวได้ถึง 15 ซม. ใบประดับขนาดเล็ก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข่ ยาวประมาณ 1 มม. มีเกล็ดที่โคน ดอกรูปดอกเข็ม สีขาวหรืออมชมพู กลีบเรียงซ้อนทับด้านซ้ายในตาดอก หลอดกลีบดอกยาวประมาณ 2 มม. มี 5 กลีบ รูปรี เบี้ยวเล็กน้อย ยาว 2-4 มม. เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดใกล้โคนหลอดกลีบดอก ก้านชูอับเรณูสั้น อับเรณูรูปเงี่ยงลูกศร ปลายเรียวแนบติดปลายเกสรเพศเมีย จานฐานดอกจัก 5 พู มี 2 คาร์เพล แนบติดกันเรียวยาวเป็นก้านเกสรเพศเมีย ผลเป็นฝักคู่ ยาว 12-27 ซม. คอดตามเมล็ด เมล็ดจำนวนมาก เรียว ยาวประมาณ 1 ซม. ปลายมีกระจุกขน ยาวประมาณ 3 มม.
การกระจายพันธุ์ :
- พบบริเวณที่ค่อนข้างชื้น
- พบบริเวณที่ค่อนข้างชื้น
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้เถา
ระบบนิเวศ :
- ขึ้นตามชายป่าหรือในป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 900 เมตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- พื้นที่ลุ่มน้ำลำเซบาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ยโสธร,อำนาจเจริญ,อุบลราชธานี