ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ทั่วไป ไม้พุ่มขนาดเล็ก สูง ๕๐-๘๐ เซนติเมตร เปลือกต้นสีเทาอมดำ มีกลิ่นฉุน เนื้อไม้เหนียว ใบรูปไข่กลับ ดอกสีขาวกลีบบาง ผลกลุ่ม เมื่อแก่แล้วเปลือกสีดำ แตกกลางผล ดีดเม็ดกระเด็นไปไกล
- ไม้พุ่ม สูง 0.5–2 ม. เกลี้ยง ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 10–16 ซม. โคนกลม เส้นแขนงใบข้างละ 6–9 เส้น ก้านใบยาว 0.6–2 ซม. ดอกออกเดี่ยวหรือเป็นกระจุก 2–3 ดอก ตามซอกใบ ตรงข้ามใบ หรือตามลำต้น ก้านดอกยาว 0.6–1 ซม. ใบประดับ 1 คู่ กลีบเลี้ยง 3 กลีบ รูปไข่กว้าง ยาวประมาณ 5 มม. ดอกสีเขียวอมขาว กลีบวงนอก 3 กลีบ รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 1.5 ซม. กลีบวงใน 3 กลีบ รูปใบหอก ยาว 0.6–1 ซม. มีก้านกลีบสั้น ๆ เกสรเพศผู้ยาวประมาณ 3 มม. มี 5–7 คาร์เพล มี 3–6 ผลย่อยแห้งแล้วแตก รูปกระบอง ยาว 1.5–3 ซม. ก้านผลยาว 1.5–2 ซม. มี 2 เมล็ด รูปไข่กลับ ยาวประมาณ 1 ซม. สีน้ำตาลดำเป็นมันวาว (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ จำปูน, สกุล)
- ไม้เถาเนื้อแข็ง ตามลำต้นมีหนามแข็งห่างๆ เห็นชัดเจน และกิ่งมีรยางค์เป็นตะขอ (Hook) ใบ รูปรีถึงรูปขอบขนาน กว้าง 3 – 6เซนติเมตร ยาว 10 – 18 เซนติเมตรแผ่นใบค่อนข้างหนา แข็งและเหนียว ผิวใบเป็นมันทั้งสองด้าน ดอก เดี่ยวหรือเป็นช่อ ออกตามกิ่งจากปลายตะขอ ดอกอ่อนสีเขียว เมื่อบานสีเหลืองเข้มและมีกลิ่นหอม กลีบดอกเรียงเป็นสองชั้น ตัวกลีบหนา รูปรี โคนกลีบคอด ยาวประมาณ 4 ซม. ผล กลุ่ม มีผลย่อยจำนวน 5 – 7(-15) ผล ร่วงง่าย แต่ละผลมี 2 เมล็ด
- ทั่วไป ไม้พุ่มขนาดเล็ก สูง ๕๐-๘๐ เซนติเมตร เปลือกต้นสีเทาอมดำ มีกลิ่นฉุน เนื้อไม้เหนียว ใบรูปไข่กลับ ดอกสีขาวกลีบบาง ผลกลุ่ม เมื่อแก่แล้วเปลือกสีดำ แตกกลางผล ดีดเม็ดกระเด็นไปไกล
- ทั่วไป ไม้พุ่มขนาดเล็ก สูง ๕๐-๘๐ เซนติเมตร เปลือกต้นสีเทาอมดำ มีกลิ่นฉุน เนื้อไม้เหนียว ใบรูปไข่กลับ ดอกสีขาวกลีบบาง ผลกลุ่ม เมื่อแก่แล้วเปลือกสีดำ แตกกลางผล ดีดเม็ดกระเด็นไปไกล
- ทั่วไป ไม้พุ่มขนาดเล็ก สูง ๕๐-๘๐ เซนติเมตร เปลือกต้นสีเทาอมดำ มีกลิ่นฉุน เนื้อไม้เหนียว ใบรูปไข่กลับ ดอกสีขาวกลีบบาง ผลกลุ่ม เมื่อแก่แล้วเปลือกสีดำ แตกกลางผล ดีดเม็ดกระเด็นไปไกล
การกระจายพันธุ์ :
- พบมากในภาคกลาง
- พบในป่าดิบชื้น ที่ระดับความสูง 100 - 400 เมตร ทางภาคตะวันออกและภาคใต้ของประเทศไทย ในต่างประเทศพบที่ประเทศฟิลิปปินส์
- พบมากในภาคกลาง
- พบมากในภาคกลาง
- พบมากในภาคกลาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2020)
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
NSM Chanthaburi
NSM Chanthaburi
NSM Chanthaburi
NSM Chanthaburi
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ