ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้นขนาดเล็กหรือไม้พุ่ม สูงถึง 6 เมตร ใบ ประกอบ ใบย่อยมี 3 - 6 คู่ รูปใบหอกแกมรูปไข่ หรือรูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 2.0-7.5 ซม. ยาว 3.5-12 ซม. ดอก ออกเป็นช่อแบบแยกแขนงที่ปลายยอด มีขนนุ่มปกคลุม กลีบดอกรูปไข่ หรือรูปขอบขนาน กว้าง ประมาณ 2 มม ยาว 1.8 มม สีเหลือง ผล ค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.5 ซม. มีขนสีน้ำตาลแดง หรือเกือบเกลี้ยง
- ไม้ต้น
- ไม้ต้นขนาดเล็กหรือไม้พุ่ม สูงถึง 6 เมตร ใบ ประกอบ ใบย่อยมี 3 - 6 คู่ รูปใบหอกแกมรูปไข่ หรือรูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 2.0-7.5 ซม. ยาว 3.5-12 ซม. ดอก ออกเป็นช่อแบบแยกแขนงที่ปลายยอด มีขนนุ่มปกคลุม กลีบดอกรูปไข่ หรือรูปขอบขนาน กว้าง ประมาณ 2 มม ยาว 1.8 มม สีเหลือง ผล ค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.5 ซม. มีขนสีน้ำตาลแดง หรือเกือบเกลี้ยง
การกระจายพันธุ์ :
- พบการกระจายพันธุ์ในเขตกึ่งร้อน และเขตอบอุ่นของทวีปเอเชีย เช่น อินเดีย พม่า จีน ลาว กัมพูชา เวียดนาม ไต้หวัน ญี่ปุ่น เกาะสุมาตรา ประเทศไทยพบในพื้นที่เปิดในป่าดิบ ที่ระดับ 900-1200 ม.จากระดับน้ำทะเล บริเวณภาคเหนือ
- พบการกระจายพันธุ์ในเขตกึ่งร้อน และเขตอบอุ่นของทวีปเอเชีย เช่น อินเดีย พม่า จีน ลาว กัมพูชา เวียดนาม ไต้หวัน ญี่ปุ่น เกาะสุมาตรา ประเทศไทยพบในพื้นที่เปิดในป่าดิบ ที่ระดับ 900-1200 ม.จากระดับน้ำทะเล บริเวณภาคเหนือ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- เชียงใหม่
- เพชรบูรณ์
- สระบุรี
- ชัยภูมิ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว