ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 5-15 ม. ลำต้นเปลา เปลือกเรียบ ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปใบหอกแกมรูปขอบขนาน และมักเบี้ยว ใบอ่อนมีขนนุ่มทั่วไป ดอกออกเดี่ยวๆ หรือเป็นกลุ่มไม่เกิน 3 ดอก ตามง่ามใบและเหนือรอยแผลใบตามกิ่ง กลีบเลี้ยง 3 กลีบ กลีบดอกสีเขียวอ่อน เรียงสลับกัน 2 ชั้น ชั้นละ 3 กลีบ เกสรเพศผู้มีจำนวนมาก อยู่ชิดกันแน่นเป็นพุ่มกลม ผลเป็นผลกลุ่ม อยู่บนแกนตุ้มกลม แต่ละผลป้อม ปลายเป็นติ่ง ผลอ่อนสีเขียว แก่จัดเป็นสีแสด ก้านผลเรียวเล็ก โคนก้านติดรวมอยู่บนปลายก้านช่อที่โตเป็นตุ้ม
- บรรยายลักษณะต้น:ไม้ต้นขนาดเล็ก-กลาง ผลัดใบ สูง 5-15 เมตร เรือนยอดรูปกรวยคว่ำ ลำต้นเปลาตรง กิ่งแตกเกือบตั้งฉากกับลำต้น กิ่งอ่อนมีขนนุ่ม ลำต้นและกิ่งแก่มีช่องระบายอากาศสีเหลืองอ่อนใบ:ใบเดี่ยว เรียงสลับระนาบเดียว รูปหอกแกมรูปขอบขนาน ขนาด 2-4.5X8-18 เซนติเมตร ปลายใบแหลม ฐานรูปลิ่ม ขอบใบอ่อนมีขนนุ่ม แผ่นใบบาง ด้านบนสีเขียงเข้ม ด้านล่างสีจางหรือขาวอมเทา เส้นแขนงใบข้างละ 8-15 เส้น ก้านใบสั้นมากและมีขนดอก:ดอกเดี่ยวหรือเป็นกลุ่ม ไม่เกิน 3 ดอก สีเขียวอ่อน มีกลิ่นหอม ออกตามซอกใบเหนือรอยแผลใบตามกิ่ง กลีบเลี้ยง 3 กลีบ รูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว กลีบดอกเรียงสลับกัน 2 ชั้นๆ ละ 3 กลีบ กลีบชั้นในใหญ่กว่ากลีบดอกชั้นนอก ดอกออกเดือนกุมภาพันธ์ถึงมีนาคมผล:ผลกลุ่มอยู่บนแกนตุ้มกลม ผลอ่อนสีเขียว เมื่อแก่สีแสด เมื่อแห้งจะเป็นสีดำ เมล็ดกลม เป็นผลประมาณเดือนเมษายนถึงพฤษภาคมเปลือก:เปลือกนอกสีเทาหรือน้ำตาลอ่อน เปลือกเรียบอื่นๆ:

ไม้ต้นขนาดเล็ก-กลาง ผลัดใบ สูง 5-15 เมตร เรือนยอดรูปกรวยคว่ำ ลำต้นเปลาตรง กิ่งแตกเกือบตั้งฉากกับลำต้น กิ่งอ่อนมีขนนุ่ม ลำต้นและกิ่งแก่มีช่องระบายอากาศสีเหลืองอ่อน
ใบเดี่ยว เรียงสลับระนาบเดียว รูปหอกแกมรูปขอบขนาน ขนาด 2-4.5X8-18 เซนติเมตร ปลายใบแหลม ฐานรูปลิ่ม ขอบใบอ่อนมีขนนุ่ม แผ่นใบบาง ด้านบนสีเขียงเข้ม ด้านล่างสีจางหรือขาวอมเทา เส้นแขนงใบข้างละ 8-15 เส้น ก้านใบสั้นมากและมีขน
ดอกเดี่ยวหรือเป็นกลุ่ม ไม่เกิน 3 ดอก สีเขียวอ่อน มีกลิ่นหอม ออกตามซอกใบเหนือรอยแผลใบตามกิ่ง กลีบเลี้ยง 3 กลีบ รูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว กลีบดอกเรียงสลับกัน 2 ชั้นๆ ละ 3 กลีบ กลีบชั้นในใหญ่กว่ากลีบดอกชั้นนอก ดอกออกเดือนกุมภาพันธ์ถึงมีนาคม
ผลกลุ่มอยู่บนแกนตุ้มกลม ผลอ่อนสีเขียว เมื่อแก่สีแสด เมื่อแห้งจะเป็นสีดำ เมล็ดกลม เป็นผลประมาณเดือนเมษายนถึงพฤษภาคม
เปลือกนอกสีเทาหรือน้ำตาลอ่อน เปลือกเรียบ
- ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 5-15 ม. ลำต้นเปลา เปลือกเรียบ ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปใบหอกแกมรูปขอบขนาน และมักเบี้ยว ใบอ่อนมีขนนุ่มทั่วไป ดอกออกเดี่ยวๆ หรือเป็นกลุ่มไม่เกิน 3 ดอก ตามง่ามใบและเหนือรอยแผลใบตามกิ่ง กลีบเลี้ยง 3 กลีบ กลีบดอกสีเขียวอ่อน เรียงสลับกัน 2 ชั้น ชั้นละ 3 กลีบ เกสรเพศผู้มีจำนวนมาก อยู่ชิดกันแน่นเป็นพุ่มกลม ผลเป็นผลกลุ่ม อยู่บนแกนตุ้มกลม แต่ละผลป้อม ปลายเป็นติ่ง ผลอ่อนสีเขียว แก่จัดเป็นสีแสด ก้านผลเรียวเล็ก โคนก้านติดรวมอยู่บนปลายก้านช่อที่โตเป็นตุ้ม
การกระจายพันธุ์ :
- อินเดีย จีน ไทย กัมพูชา ลาว เวียดนาม พบตามป่าเนินเขา ระดับความสูง 100-1100 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล
- พบในป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ที่่่ความสูงจากระดับน้ำทะเล 50-600 เมตร ต่างประเทศพบในอินเดีย พม่า กัมพูชา เวียดนาม จีนตอนใต้
- อินเดีย จีน ไทย กัมพูชา ลาว เวียดนาม พบตามป่าเนินเขา ระดับความสูง 100-1100 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าสงวนแห่งชาติป่ากุดจับ ป่าเขาผาลาด ป่าสงวนแห่งชาติป่านาซาวฝั่งซ้ายถนนแพร่-น่าน ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงภู ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่วงก์ – แม่เปิน ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาวงจันแดง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ลุ่มน้ำปายฝั่งซ้าย
- อุทยานแห่งชาติ เขาสิบห้าชั้น
- อุทยานแห่งชาติ เขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. กิ่งแก่มีช่องอากาศ มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อนและแผ่นใบ ด้านล่าง ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 6-19 ซม. ก้านใบสั้น ช่อดอกออก ตามซอกใบส่วนมากมีดอกเดียว ก้านดอกยาว 1-2 ซม. ใบประดับคล้ายใบ 1-2 อัน ติดใต้กึ่งกลางก้านดอก ติดทน กลีบเลี้ยงรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาว 8-9 มม. ด้านนอกมีขนยาว ดอกสีเขียว กลีบยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง แผ่นกลีบหนา มีขนประปรายคาร์เพลมีขนสั้นนุ่ม ก้านช่อผลยาว 1.5-2 ซม. ผลย่อยรูปรีกว้าง เส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 6 มม. สุกสีแดงและดำ ก้านผลย่อยยาวเท่า ๆ ก้านช่อ ส่วนมากมีเมล็ดเดียว พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทุกภาค ภาคใต้ถึง ชุมพร ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ หรือบนเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร เปลือกเหนียวใช้ทำเชือกหรือกระสอบ ดอกใช้ทำน้ำหอม
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. กิ่งแก่มีช่องอากาศ มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อนและแผ่นใบ ด้านล่าง ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 6-19 ซม. ก้านใบสั้น ช่อดอกออก ตามซอกใบส่วนมากมีดอกเดียว ก้านดอกยาว 1-2 ซม. ใบประดับคล้ายใบ 1-2 อัน ติดใต้กึ่งกลางก้านดอก ติดทน กลีบเลี้ยงรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาว 8-9 มม. ด้านนอกมีขนยาว ดอกสีเขียว กลีบยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง แผ่นกลีบหนา มีขนประปรายคาร์เพลมีขนสั้นนุ่ม ก้านช่อผลยาว 1.5-2 ซม. ผลย่อยรูปรีกว้าง เส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 6 มม. สุกสีแดงและดำ ก้านผลย่อยยาวเท่า ๆ ก้านช่อ ส่วนมากมีเมล็ดเดียว พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทุกภาค ภาคใต้ถึง ชุมพร ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ หรือบนเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร เปลือกเหนียวใช้ทำเชือกหรือกระสอบ ดอกใช้ทำน้ำหอม
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. กิ่งแก่มีช่องอากาศ มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อนและแผ่นใบ ด้านล่าง ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 6-19 ซม. ก้านใบสั้น ช่อดอกออก ตามซอกใบส่วนมากมีดอกเดียว ก้านดอกยาว 1-2 ซม. ใบประดับคล้ายใบ 1-2 อัน ติดใต้กึ่งกลางก้านดอก ติดทน กลีบเลี้ยงรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาว 8-9 มม. ด้านนอกมีขนยาว ดอกสีเขียว กลีบยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง แผ่นกลีบหนา มีขนประปรายคาร์เพลมีขนสั้นนุ่ม ก้านช่อผลยาว 1.5-2 ซม. ผลย่อยรูปรีกว้าง เส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 6 มม. สุกสีแดงและดำ ก้านผลย่อยยาวเท่า ๆ ก้านช่อ ส่วนมากมีเมล็ดเดียว พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทุกภาค ภาคใต้ถึง ชุมพร ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ หรือบนเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร เปลือกเหนียวใช้ทำเชือกหรือกระสอบ ดอกใช้ทำน้ำหอม
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. กิ่งแก่มีช่องอากาศ มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อนและแผ่นใบ ด้านล่าง ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 6-19 ซม. ก้านใบสั้น ช่อดอกออก ตามซอกใบส่วนมากมีดอกเดียว ก้านดอกยาว 1-2 ซม. ใบประดับคล้ายใบ 1-2 อัน ติดใต้กึ่งกลางก้านดอก ติดทน กลีบเลี้ยงรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาว 8-9 มม. ด้านนอกมีขนยาว ดอกสีเขียว กลีบยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง แผ่นกลีบหนา มีขนประปรายคาร์เพลมีขนสั้นนุ่ม ก้านช่อผลยาว 1.5-2 ซม. ผลย่อยรูปรีกว้าง เส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 6 มม. สุกสีแดงและดำ ก้านผลย่อยยาวเท่า ๆ ก้านช่อ ส่วนมากมีเมล็ดเดียว พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทุกภาค ภาคใต้ถึง ชุมพร ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ หรือบนเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร เปลือกเหนียวใช้ทำเชือกหรือกระสอบ ดอกใช้ทำน้ำหอม
การขยายพันธุ์ :
- การเพาะเมล็ด
- การเพาะเมล็ด
- การเพาะเมล็ด
- การเพาะเมล็ด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- สระบุรี
- แม่ฮ่องสอน
- จันทบุรี
- ระยอง
- ลพบุรี
- กาญจนบุรี, ตาก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- สมุนไพร,ไม้ดอกไม้ประดับ
- 1. ผลสุกในส่วนของเนื้อหุ้มเมล็ดจะมีรสหวาน สามารถนำมารับประทานได้ 2. เนื้อไม้มีสีขาวอมเหลือง นำมาใช้ทำด้ามเครื่องเกษตรกรรมทั่วไปได้ บ้างใช้ทำเครื่องจักสานและเครื่องมือใช้สอยต่าง ๆ
- 1. ผลสุกในส่วนของเนื้อหุ้มเมล็ดจะมีรสหวาน สามารถนำมารับประทานได้ 2. เนื้อไม้มีสีขาวอมเหลือง นำมาใช้ทำด้ามเครื่องเกษตรกรรมทั่วไปได้ บ้างใช้ทำเครื่องจักสานและเครื่องมือใช้สอยต่าง ๆ
- 1. ผลสุกในส่วนของเนื้อหุ้มเมล็ดจะมีรสหวาน สามารถนำมารับประทานได้ 2. เนื้อไม้มีสีขาวอมเหลือง นำมาใช้ทำด้ามเครื่องเกษตรกรรมทั่วไปได้ บ้างใช้ทำเครื่องจักสานและเครื่องมือใช้สอยต่าง ๆ
- 1. ผลสุกในส่วนของเนื้อหุ้มเมล็ดจะมีรสหวาน สามารถนำมารับประทานได้ 2. เนื้อไม้มีสีขาวอมเหลือง นำมาใช้ทำด้ามเครื่องเกษตรกรรมทั่วไปได้ บ้างใช้ทำเครื่องจักสานและเครื่องมือใช้สอยต่าง ๆ