ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นก
- หัวสีเทา คิ้วยาวสีขาวเลยหลังตา ลำตัวด้านบนสีน้ำตาลแกมเขียวไพล ขนปีกบินสีน้ำตาลแดง คอขาว ลำตัวด้านล่าง
สีน้ำตาลอ่อนแกมเหลือง ปลายหางด้านล่างขลิบดำและขาวช่วงฤดูผสมพันธุ์บริเวณหัวถึงท้ายทอยสีเทาเข้มขึ้น
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- หัวเทา คิ้วยาวสีขาวเลยหลังตา ลำตัวด้านบนสีน้ำตาลแกมเขียวไพล ขนบีกบินน้ำตาลแดง คอขาว ลำตัวด้านล่างน้ำตาลอ่อนแกมเหลือง ปลายหางด้านล่างขลิบดำและขาว ขนชุดผสมพันธุ์ : หัวถึงท้ายทอยเทาเข้ม
ระบบนิเวศ :
- ทุ่งหญ้า ริมชายป่า ที่ราบถึงความสูง 1,600 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
- ทุ่งหญ้า ริมชายป่า
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศเกษตร
- สวนยาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
- เชียงใหม่
- เลย
- มุกดาหาร
- พะเยา
- น่าน
- น่าน
- กระบี่
- พะเยา
- ยะลา,ปัตตานี
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำแม่แตง
- ป่าภูหลวง
- ภูผาเทิบ
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- บ้านดอยติ้ว ตำบลศรีภูมิ อำเภอท่าวังผา
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา
- พรุลานควาย
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
การกระจายพันธุ์ :
- นกประจำถิ่น
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ