ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นก
- นกขนาดเล็ก (25 ซม.) ขนคลุมขนปีกด้านล่างสีขาว สีสันของร่างกายเป็นสีน้ำตาลเข้ม โดยบริเวณหัว คอหอย และอกตอนบนจะเป็นสีดำ ปาก วงรอบเบ้าตาและนิ้วสีเหลือง ขนคลุมโคนขนหางด้านล่างสีขาว ตาสีแดง-น้ำตาลแดง ขณะที่บินจะเห็นลายพาดสีขาวบริเวณโคนของขนปลายปีก
- มีขนาดประมาณ 24.5-27 เซนติเมตร หัวและอกดำแกมน้ำตาล ปากและหนังรอบตาเหลือง ลำตัวสีน้ำตาลเข้ม กลางท้องและก้นขาว ขณะบินเห็นขนปีกดำใต้ปีกขาว ปีกบนมีแถบขาวเป็นวงใหญ่ แข้งและตีนเหลือง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- หัวและอกดำแกมน้ำตาล ปากและหนังรอบตาเหลือง ลำตัวน้ำตาลเข้ม กลางท้องและก้นขาว ขนปีกบินดำมีแถบขาว ขณะบินใต้ปีกขาว ปีกบนมีแถบขาวเป็นวงใหญ่ แข้งและตีนเหลือง นกวัยอ่อน : หัวและอกน้ำตาล บางตัวหัวอาจล้านเห็นหนังสีเหลือง
ระบบนิเวศ :
- พื้นที่เกษตรกรรมและพื้นที่เปิดโล่งต่าง ๆ แหล่งชุมชน ที่ราบถึงความสูง 1,525 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
- พบตามทุ่งโล่ง แหล่งกสิกรรม แหล่งชุมชน พบเป็นคู่หรือฝูง หากินตามพื้นดิน อาจเป็นที่ขึ้นแฉะ อาหารส่วนใหญ่เป็นแมลง ตัวหนอน สัตว์ขนาดเล็ก ธัญพืช และอาจหากินตามกิ่งก้านของต้นไม้ด้วย
- ระบบนิเวศเกาะ
- ระบบนิเวศเกษตร
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศเกษตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- นครพนม
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- สุราษฏร์ธานี
- เชียงใหม่
- พะเยา
- อุตรดิตถ์,แพร่,น่าน,พะเยา
- น่าน
- ฉะเชิงเทรา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- แม่น้ำสงครามตอนล่าง
- อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง
- พื้นที่เกษตรดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- ลุ่มน้ำอิง,ลุ่มน้ำยม,ลุ่มน้ำน่าน
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- ป่าคำหัวแฮด, ป่าสงวนแห่งชาติป่าสาลีก, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขากระยาง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่แจ่ม, ป่าเขาผาลาด, ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูสีฐาน(ป่าภูผาซาน), ป่าสงวนแห่งชาติป่ายางน้ำกลัดเหนือและป่ายางน้ำกลัดใต้, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาหลวง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าวังใหญ่และป่าแม่น้ำน้อย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูโหล่ย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเทือกเขาแม่นางขาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าประดางและป่าวังก์เจ้า, ป่าสงวนแห่งชาติป่าตะเบาะและป่าห้วยใหญ่, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาสมิง (ป่าคลองใหญ่-ป่าเขาไฟไหม้), ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูเป้ง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าสีสุก, ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงโพนทราย, ป่าสงวนแห่งชาติป่านาซาวฝั่งซ้ายถนนแพร่-น่าน, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเลนคลองปะเหลียนและป่าคลองท่าบ้า, ป่าสงวนแห่งชาติป่าควนออกบ้านน้ำตก, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่คำมี, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่จางฝั่งซ้าย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่วงก์ – แม่เปิน , ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร, ป่าสงวนแห่งชาติป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม , ป่าสงวนแห่งชาติป่าคลองกาโหรดและป่าคลองหิน
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนพฤษภาคม-กันยายน วางรังตามคอต้นตาล มะพร้าว ปาล์ม โดยใช้ใบไม้ ใบหญ้า มาวางช้อนทับกัน แต่ละรังมีไข่ 4-5 ฟอง ไข่สีน้ำเงิน ใช้เวลาฟักไข่ 17-18 วัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร, ช่วยในการกระจายพันธุ์
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2017)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
NSM Nakhon ratchasima
NSM Nakhon ratchasima
NSM Nakhon ratchasima
NSM Prachuap khiri khan
NSM Phatthalung
NSM Rayong
NSM Samut prakan
NSM Samut prakan
NSM Nakhon pathom
NSM Phatthalung
NSM Loei
NSM Pathum thani
NSM Pathum thani
NSM Pathum thani
NSM Pathum thani
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Lamphun
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Nakhon si thammarat
NSM Chiang mai
NSM Udon thani
NSM Chiang mai
NSM Ubon ratchathani
NSM Nakhon ratchasima
NSM Surat thani
NSM Kuala lumpur
NSM Kuala lumpur
NSM -
NSM -
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ