ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
การกระจายพันธุ์ :
-
ภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาคกลาง ภาคตะวันตก และภาคใต้
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาคกลาง ภาคตะวันตก และภาคใต้
-
กำแพงเพชร
-
อุตรดิตถ์
-
พะเยา
-
เชียงใหม่
-
พิษณุโลก
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
มีขนาดหัวและลำตัว 11-12 เซนติเมตร หางยาว 11 เซนติเมตร เป็นกระรอกที่อาศัยอยู่บนต้นไม้ที่มีขนาดเล็กมาก หลังมีลายแถบสีดำ 5 แถบ สลับกับแถบสีจาง 4 แถบ แถบสีจางด้านนอกกว้างกว่า แถบด้านใน หน้าผากและกระหม่อมสีเขียว ลำตัวด้านข้างและขาเป็นสีเทา ท้องมีสีส้ม หางเรียว มีจุดประสีเทา น้ำตาล และดำ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าเขาผาลาด, ป่าสงวนแห่งชาติป่ายางน้ำกลัดเหนือและป่ายางน้ำกลัดใต้, ป่าสงวนแห่งชาติป่าวังใหญ่และป่าแม่น้ำน้อย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าตะเบาะและป่าห้วยใหญ่, ป่าสงวนแห่งชาติป่านาซาวฝั่งซ้ายถนนแพร่-น่าน, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่จางฝั่งซ้าย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่วงก์ – แม่เปิน , ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเทือกเขาแม่นางขาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาสมิง (ป่าคลองใหญ่-ป่าเขาไฟไหม้), ป่าสงวนแห่งชาติป่าควนออกบ้านน้ำตก, ป่าสงวนแห่งชาติป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม , ป่าสงวนแห่งชาติป่าคลองกาโหรดและป่าคลองหิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม