ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นก
- นกขนาดเล็กถึงกลาง (32-33 ซม.) ปากแดงโดยตอนปลายเป็นสีดำ หัว คอและอกเป็นสีดำ ตัดกับสีทางด้านล่างลำตัวงเป็นสีขาวชัดเจน มีลายแถบสีขาวพาดจากบริเวณด้านล่างของตาไปจนจรดคอด้านข้าง จากตาข้างหนึ่งไปยังตาอีกข้างหนึ่งมีติ่งเนื้อสีแดงชัดเจน ด้านบนลำตัวสีน้ำตาลมีเหลือบสีม่วงและเขียว
- หัว คอ และอก มีสีดำ หูสีขาว หัวตามีแถบ หนังสีแดงสด ปากสีแดงส้มปลายดำ ลำตัวด้านบนสีน้ำตาลอ่อน ลำตัว
ด้านล่างมีสีขาว ขนปีกบินสีดำหางสีดำ ด้านบนของขนหางคู่นอกๆ มีสีขาว
- หัวถึงอกดำ หนังรอบตาและเหนียงที่หัวตาแดงเข้ม ปากแดงเข้ม
ปลายดำ ขนคลุมหูเป็นแถบขาวใหญ่ ลำตัวด้านบน สีน้ำตาล ลำตัวด้านล่างขาว แข้งและตีนสีเหลืองหรือเหลืองแกมเขียว ขณะบินปีกคล้ายนกกระแตหาด แต่หางขาวมีแถบดำใหญ่พาดกลาง เสียงร้อง “แต-แต-แต-แต้แว้ด”
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- หัวถึงอกดำ หนังรอบตาและเหนียงที่หัวตาแดงเข้ม ปากแดงเข้มปลายดำ ขนคลุมหูเป็นแถบขาวใหญ่ ลำตัวด้านบนน้ำตาล ลำตัวด้านล่างขาว แข้งและตีนเหลือง หรือเหลืองแกมเขียว ขณะบินปีกคล้ายนกกระแตหาด แต่หางขาวมีแถบดำใหญ่พาดกลาง
ระบบนิเวศ :
- ทุ่งนา พื้นที่เกษตรกรรมและเปิดโล่งต่าง ๆ
- พบบริเวณทุ่งโล่ง บริเวณใกล้แหล่งน้ำต่างๆ เมื่อตกใจจะบินขึ้นเวียนวนพร้อมส่งเสียงดัง อาหารได้แก่ แมลงและสัตว์น้ำเล็กๆ
- หาดทรายและแก่งหินริมแม่น้ำใหญ่ บางครั้งพบตามทุ่งนา ริมทะเลสาบ
- ทุ่งหญ้า/ทุ่งนา/หญ้าสูง/ไม้พุ่มริมน้ำ นกประจำถิ่น
- ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศเกษตร
- ระบบนิเวศพื้นที่ปาชุมน้ำและทุงใกลชุมชน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
- พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
- มุกดาหาร
- พะเยา
- น่าน
- กระบี่
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- นนทบุรี
- กรุงเทพมหานคร
- กรุงเทพมหานคร
- กระบี่, ชุมพร, พะเยา, สุราษฎร์ธานี, ระนอง, อุตรดิตถ์, แพร่, ลำปาง, ลำพูน, นครสวรรค์, เชียงราย
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมีนาคม-กรกฎาคม ทำรังโดยการขุดดินเป็นแห่ง อาจใช้ก้อนหินเล็กๆ เรียงไว้รอบรัง สีพื้นของไข่เป็นสีน้ำตาลอ่อน มีลายจุดสีดำ หรือน้ำตาลเข้ม ในแต่ละรังมีไข่ 3-4 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 26-28 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ภูผาเทิบ
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
- ป่าคลองกาโหรด และป่าคลองหิน กระบี่, ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร, ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี, ป่าละอุ่น และป่าราชกรูด ระนอง, ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าแม่คำมี แพร่, ป่าแม่จางฝั่งซ้าย ลำปาง, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- เชียงราย
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ