ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- นครพนม
- ขอนแก่น,กาฬสินธุ์,กำแพงเพชร,ฉะเชิงเทรา,ชลบุรี,จันทบุรี,ชัยนาท,ชุมพร,เชียงใหม่,ตรัง,เชียงราย,ตราด,นครนายก,นครปฐม,นครพนม,ชัยภูมิ,กาญจนบุรี,ตาก,กรุงเทพมหานคร,นคราชสีมา,นครศรีธรรมราช,นครสวรรค์,นนทบุรี,นราธิวาส,น่าน,กระบี่,บุรีรัมย์,ปทุมธานี,ปราจีนบุรี,พระนครศรีอยุธยา,พัทลุง,พังงา,เพชรบุรี,เพชรบูรณ์,แพร่,ภูเก็ต,พิษณุโลก,มหาสารคาม,มุกดาหาร,แม่ฮ่องสอน,ยโสธร,พิจิตร,ยะลา,ระนอง,ระยอง,ร้อยเอ็ด,ราชบุรี,ลพบุรี,ลำพูน,เลย,สกลนคร,ศรีสะเกษ,สงขลา,สตูล,สมุทรปราการ,ลำปาง,สมุทรสงคราม,สมุทรสาคร,พะเยา,สิงห์บุรี,สุโขทัย,สุพรรณบุรี,สุราษฎร์ธานี,สุรินทร์,หนองบัวลำภู,อ่างทอง,หนองคาย,อำนาจเจริญ,อุดรธานี,อุตรดิตถ์,สระบุรี,อุบลราชธานี,บึงกาฬ,สระแก้ว,ประจวบคีรีขันธ์,ปัตตานี,อุทัยธานี
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- กำแพงเพชร
- อุตรดิตถ์
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- พะเยา
- เชียงใหม่
- กระบี่
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- กระบี่, ลำพูน
- ยะลา,ปัตตานี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- แม่น้ำสงครามตอนล่าง
- All provinces
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
- ป่าคลองกาโหรด และป่าคลองหิน กระบี่, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน
- พรุลานควาย
ระบบนิเวศ :
- พบอาศัยในป่าหลากหลาย นาข้าว และพื้นที่ชุมชน
- Inhabits from lowland wetland to lowland evergreen forest. usually found in paddy field.
- ทุ่งหญ้า นาข้าว
การกระจายพันธุ์ :
- พบทั่วประเทศ
- พบทั่วประเทศ
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- งูเห่า เป็นงูบกขนาดกลาง มีหลายสี คือ ดำ น้ำตาล เขียวอมเทา เหลืองหม่น ขาว มีทั้งที่มีลายตามตัว และไม่มีลายเลย เป็นงูที่มีอันตราย นิสัยดุ ฉกกัด มักทำเสียงขู่ ฟู่ๆ เมื่อเกิดอาการตกใจ และเป็นงูที่มีพิษร้ายแรง มีร่องและรูทางออกของน้ำพิษทางด้านหลังของเขี้ยวพิษ เขี้ยวพิษขนาดไม่ใหญ่นัก ผนึกแน่นกับขากรรไกรขยับไม่ได้ นอกจากเขี้ยวพิษแล้วอาจมีเขี้ยวสำรองอยู่ติด ๆ กันอีก 1-2 อัน ฟันที่ขากรรไกรล่างไม่มีฟันหน้าใหญ่ที่คล้ายเขี้ยว งูเห่าเมื่อโตเต็มวัย มีความยาวประมาณ 120-150 เซนติเมตร เมื่อเทียบตามส่วนสามารถแผ่แม่เบี้ยได้กว้างที่สุดกว่าชนิดอื่น ยกตัวชูคอแผ่แม่เบี้ยได้สูงที่สุดประมาณ 1 ใน 3 ของความยาวลำตัว เกล็ดบนหัวมีขนาดใหญ่
- อันตราย พิษรุนแรงถึงชีวิต
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร
- ใช้เป็นอาหาร โดยการนำไปย่างโดยการนำไปคลุกกับมดแดงเพื่อให้มีรสเปรี้ยวให้กลมกล่อมขึ้น และบางพื้นที่นำดีงูเห่าผสมเหล้าเพราะเชื่อว่าช่วยเพิ่มพลังทางเพศ
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2012)
ที่มาของข้อมูล
ข้อมูลสภานภาพ CITES

CITES โลก

- บัญชีหมายเลข II (ประกาศใช้เมื่อ 1990-01-18)

CITES ไทย

- บัญชีหมายเลข II

พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Slough
Slough
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Slough
Slough
Slough
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ