ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- นครพนม
- พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
- เชียงใหม่
- น่าน
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- ตราด
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- กำแพงเพชร
- อุตรดิตถ์
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- พะเยา
- เชียงใหม่
- จันทบุรี
- พิษณุโลก
- กระบี่
- สมุทรปราการ
- กระบี่, พะเยา, ชัยภูมิ, สุราษฎร์ธานี, แพร่, เชียงราย
- ยะลา,ปัตตานี
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- แม่น้ำสงครามตอนล่าง
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกคลองแก้ว
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- ป่าคลองกาโหรด และป่าคลองหิน กระบี่, ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าภูแลนคาด้านทิศเหนือ ชัยภูมิ, ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี, ป่าแม่คำมี แพร่, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
- พรุลานควาย
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
ระบบนิเวศ :
- พบอาศัยในนาข้าว พื้นที่ชลประทาน บ่อปลา คู คลอง พื้นที่ชุ่มน้ำน้ำท่วม หนองน้ำในป่า และพื้นที่ชื้นแฉะอื่นๆ ลูกอ๊อดอาศัยอยู่ในบ่อ และหนองน้ำ
- ระบบนิเวศป่าไม้, ระดับความสูงต่ำกว่า 1,000 เมตร จากระดับทะเลปานกลาง
- ระบบนิเวศเกษตร
- ทุ่งหญ้า นาข้าว
การกระจายพันธุ์ :
- แหล่งอาศัยในประเทศไทย พบทั่วประเทศ
- แหล่งอาศัยในประเทศไทย พบทั่วประเทศ
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ลำตัวสีเขียวมะกอกอมน้ำตาล หลังและสีข้างมีจุดสีดำจางๆ กระจายอยู่ทั่วไป ท้องสีเทา ใต้คางมีลายขีดยาวๆ สีดำ พบทั่วไปตามแหล่งน้ำจืดในที่ราบลุ่ม เช่น หนอง บึง คู คลอง นาข้าวและบริเวณรอบนอกป่าไม้ ปัจจุบันนิยมเลี้ยงในเชิงเศรษฐกิจทั้งกบขนาดใหญ่ที่ใช้เป็นอาหาร พบทุกภาค
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร, ส่วนประกอบพิธีกรรมและความเชื่อ
- เป็นอาหาร
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2004)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Alcohol
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Alcohol
Alcohol
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ