ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นกขนาดเล็ก (16-20 ซม.) ขายาวและค่อนข้างตรง ด้านบนลำตัวสีน้ำตาล มีลายขีดขนาดใหญ่สีดำ ด้านล่างลำตัวสีเนื้อคอหอยและท้องสีขาว มีลายขีดเล็กๆ สีดำเป็นแถบคาดตา ขนหางคู่ที่ 2 จากด้านนอก มีแผงขนด้านนอกส่วนใหญ่สีขาว แผงขนด้านในมีลายขีดขนาดยาวสีขาว
ระบบนิเวศ :
- พบตามทุ่งหญ้า ทุ่งนา และพื้นที่กสิกรรมต่างๆ หากินตามพื้นดินด้วยการไล่จิกแมลงและตัวหนอน สลับกับการหยุดนิ่ง ในช่วงขณะนี้จะมีการกระดกหางขึ้นลงเป็นจังหวะหากมีสิ่งรบกวนจะบินเข้าพุ่มไม้และกอหญ้า
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศเกษตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- เชียงใหม่,กำแพงเพชร
- อุตรดิตถ์,แพร่,น่าน,พะเยา
- น่าน
- กำแพงเพชร
- อุตรดิตถ์
- พะเยา
- กระบี่
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- นนทบุรี
- กรุงเทพมหานคร
- กรุงเทพมหานคร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมีนาคม-มิถุนายน ทำรังตามซุ้มกอหญ้ารังเป็นรูปถ้วย ประกอบด้วยใบหญ้า และรากพืชต่างๆ ในแต่ละรังมีไข่ 3-4 ฟอง ไข่สีเทาอ่อน หรือสีเนื้อ มีลายคล้ายลายแตกสีน้ำตาลแกมดำ ระยะเวลาฟักไข่ 14-15 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ลุ่มน้ำปิง, ทะเลสาบดอยเต่า แม่น้ำปิงตอนล่าง
- ลุ่มน้ำอิง,ลุ่มน้ำยม,ลุ่มน้ำน่าน
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล