ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้น
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ยืนต้น ลำต้น: สูง 10-20 ม. ผลัดใบเมื่อออกดอก ลำต้นมีเปลือกหนา กิ่งมีหนามแหลมสั้นๆ ใบ: เป็นใบประกอบชนิดมีใบย่อยสามใบ รูปไข่กว้าง กว้าง 7-12 ซม. ยาว 9-12 ซม. ดอก: ช่อดอกอัดแน่นที่ปลายกิ่ง ยาว 5-8 ซม. สีแดงสด ดอกย่อย รูปดอกถั่ว จำนวนมาก เรียงอยู่ระนาบเดียว ยาว 4.5 ซม. กลีบเลี้ยงเป็นถ้วยคล้ายกระทง กลีบดอก 5 กลีบ ขนาดต่างกันชัดเจน กลีบบนรูปปหอกหรือมน แผ่โค้งกว้าง ขนาดใหญ่ที่สุด เกสรเพศผู้ 10 อัน ผล: เป็นฝัก รูปทรงกระบอก ยาวโค้งเล็กน้อย สีน้ำตาล กว้าง 0.6-1 ซม. ยาว 7-10 ซม. เมล็ดจำนวนมาก
- ไม้ยืนต้น ผลัดใบเมื่อออกดอก สูง 10-20 เมตร ลำต้น มีเปลือกหนา กิ่งมีหนามแหลมสั้นๆ ใบ เป็นใบประกอบแบบ มีใบย่อย 3 ใบ รูปไข่กว้าง ขนาด กว้าง 7-12 ซม. ยาว 9-12 ซม. ดอก สีแดงสด ออกเป็นช่อแน่นที่ปลาย กิ่ง ยาว 5-8 ซม. ดอกย่อยรูป ดอกถั่วจำนวนมากเรียงอยู่ระนาบเดียว ยาว 4.5 ซม. กลีบรองดอก เป็นถ้วยคล้ายกระทง กลีบดอก 5 กลีบ ขนาดต่างกันชัดเจน กลีบบนรูปหอกหรือมนแผ่โค้งกว้างใหญ่ที่สุด เกสรผู้เป็นมัด 10 อัน ผล เป็นฝัก รูปทรงกระบอก ยาวโค้งเล็กน้อย สีน้ำตาล กว้าง 0.6-1 ซม. ยาว 7-10 ซม. เมล็ดจำนวนมาก
- ไม้ยืนต้น ผลัดใบเมื่อออกดอก สูง 10-20 เมตร ลำต้น มีเปลือกหนา กิ่งมีหนามแหลมสั้นๆ ใบ เป็นใบประกอบแบบ มีใบย่อย 3 ใบ รูปไข่กว้าง ขนาด กว้าง 7-12 ซม. ยาว 9-12 ซม. ดอก สีแดงสด ออกเป็นช่อแน่นที่ปลาย กิ่ง ยาว 5-8 ซม. ดอกย่อยรูป ดอกถั่วจำนวนมากเรียงอยู่ระนาบเดียว ยาว 4.5 ซม. กลีบรองดอก เป็นถ้วยคล้ายกระทง กลีบดอก 5 กลีบ ขนาดต่างกันชัดเจน กลีบบนรูปหอกหรือมนแผ่โค้งกว้างใหญ่ที่สุด เกสรผู้เป็นมัด 10 อัน ผล เป็นฝัก รูปทรงกระบอก ยาวโค้งเล็กน้อย สีน้ำตาล กว้าง 0.6-1 ซม. ยาว 7-10 ซม. เมล็ดจำนวนมาก
- ไม้ยืนต้น ผลัดใบเมื่อออกดอก สูง 10-20 เมตร ลำต้น มีเปลือกหนา กิ่งมีหนามแหลมสั้นๆ ใบ เป็นใบประกอบแบบ มีใบย่อย 3 ใบ รูปไข่กว้าง ขนาด กว้าง 7-12 ซม. ยาว 9-12 ซม. ดอก สีแดงสด ออกเป็นช่อแน่นที่ปลาย กิ่ง ยาว 5-8 ซม. ดอกย่อยรูป ดอกถั่วจำนวนมากเรียงอยู่ระนาบเดียว ยาว 4.5 ซม. กลีบรองดอก เป็นถ้วยคล้ายกระทง กลีบดอก 5 กลีบ ขนาดต่างกันชัดเจน กลีบบนรูปหอกหรือมนแผ่โค้งกว้างใหญ่ที่สุด เกสรผู้เป็นมัด 10 อัน ผล เป็นฝัก รูปทรงกระบอก ยาวโค้งเล็กน้อย สีน้ำตาล กว้าง 0.6-1 ซม. ยาว 7-10 ซม. เมล็ดจำนวนมาก
- ไม้ยืนต้น ผลัดใบเมื่อออกดอก สูง 10-20 เมตร ลำต้น มีเปลือกหนา กิ่งมีหนามแหลมสั้นๆ ใบ เป็นใบประกอบแบบ มีใบย่อย 3 ใบ รูปไข่กว้าง ขนาด กว้าง 7-12 ซม. ยาว 9-12 ซม. ดอก สีแดงสด ออกเป็นช่อแน่นที่ปลาย กิ่ง ยาว 5-8 ซม. ดอกย่อยรูป ดอกถั่วจำนวนมากเรียงอยู่ระนาบเดียว ยาว 4.5 ซม. กลีบรองดอก เป็นถ้วยคล้ายกระทง กลีบดอก 5 กลีบ ขนาดต่างกันชัดเจน กลีบบนรูปหอกหรือมนแผ่โค้งกว้างใหญ่ที่สุด เกสรผู้เป็นมัด 10 อัน ผล เป็นฝัก รูปทรงกระบอก ยาวโค้งเล็กน้อย สีน้ำตาล กว้าง 0.6-1 ซม. ยาว 7-10 ซม. เมล็ดจำนวนมาก
การกระจายพันธุ์ :
- อินเดียถึงเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบทางภาคเหนือ ตามป่าเบญจพรรณและ ป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูง 400-800 เมตร ออกดอกและติดฝักช่วงเดือน กุมภาพันธ์-เมษายน
- อินเดียถึงเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบทางภาคเหนือ ตามป่าเบญจพรรณและ ป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูง 400-800 เมตร ออกดอกและติดฝักช่วงเดือน กุมภาพันธ์-เมษายน
- อินเดียถึงเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบทางภาคเหนือ ตามป่าเบญจพรรณและ ป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูง 400-800 เมตร ออกดอกและติดฝักช่วงเดือน กุมภาพันธ์-เมษายน
- อินเดียถึงเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบทางภาคเหนือ ตามป่าเบญจพรรณและ ป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูง 400-800 เมตร ออกดอกและติดฝักช่วงเดือน กุมภาพันธ์-เมษายน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- สระบุรี
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- อุทัยธานี
- เชียงราย
- พะเยา
- พะเยา
- เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
- แม่ฮ่องสอน
- เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- สระบุรี
- สระบุรี
- มุกดาหาร
- เชียงราย, พะเยา
- ลำปาง, แพร่
- ลำปาง, แพร่
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- ชลบุรี
- ชลบุรี
- ชลบุรี
- กำแพงเพชร
- ลพบุรี
- ลพบุรี
- พะเยา, น่าน
- พะเยา, น่าน
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่
- แพร่
- แพร่
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- อุบลราชธานี
- อุบลราชธานี
- อุบลราชธานี
- ศรีสะเกษ
- ศรีสะเกษ
- พิษณุโลก
- เลย
- กาฬสินธุ์
- กาฬสินธุ์
- อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- อุบลราชธานี
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- ศรีสะเกษ
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- ศรีสะเกษ
- ตาก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ถ้ำประทุน
- อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
- อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำปลา-น้ำตกผาเสื่อ
- อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
- อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
- อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
- อุทยานแห่งชาติ แม่ยม
- อุทยานแห่งชาติ แม่ยม
- อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
- อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- สมุนไพร,น้ำหวานเป็นอาหารนกหลายชนิด