ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ สูงประมาณ 5-20 เมตร ลำต้น เกลี้ยง เปลือกต้นเป็นสีน้ำตาลหรือน้ำตาลปนเทา กิ่งอ่อนเป็นสีเขียว ส่วนกิ่งแก่เป็นสีน้ำตาลเกลี้ยง ใบ จะเป็นใบเดี่ยวออกเรียงสลับตามกิ่ง ใบเป็นรูปทรงรี หรือรูปหอก โคนใบมนหรือกลม ปลายใบแหลม ผิวใบเกลี้ยงหรือมีขนไม่หลุดร่วงง่าย ขอบใบเรียบ ดอก ขนาดเล็ก เป็นช่อยาวเป็นกระจุกตามกิ่ง โดยแต่ละช่อจะมีดอกย่อยขนาดเล็กเป็นกลุ่ม ดอกสีขาวอมชมพู ผล มีลักษณะกลมแป้นหรือรูปไข่กลับ ผลอ่อนจะเป็นสีเขียว เมื่อสุกแล้วจะเป็นสีแดงเข็มถึงม่วง มีรสฝาดอมหวาน สามารถรับประทานได้ ซึ่งดอกและผลนี้จะออกตลอดปี
-
ไม้ต้น ลำต้น: สูง 10-30 ม. ทุกส่วนมียางขาว ใบ: เป็นเดี่ยวเรียงสลับ รูปรีรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก กว้าง 3-9 ซม. ยาว 7-18 ซม. ดอก: ดอกแยกเพศขนาดเล็ก อยู่ในช่อดอกที่มีรูปร่างคล้ายผล ผล: ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 มม.
-
ไม้ต้น สูง 10-30 เมตร ทุกส่วนมียางขาว ใบ เดี่ยวเรียงสลับ รูปรีรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก กว้าง 3-9 ซม. ยาว 7-18 ซม. ดอก แยกเพศขนาดเล็ก อยู่ในช่อดอกที่มีรูปร่างคล้ายผล รูปกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 มม.
-
ไม้ต้น สูง 10-30 เมตร ทุกส่วนมียางขาว ใบ เดี่ยวเรียงสลับ รูปรีรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก กว้าง 3-9 ซม. ยาว 7-18 ซม. ดอก แยกเพศขนาดเล็ก อยู่ในช่อดอกที่มีรูปร่างคล้ายผล รูปกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 มม.
-
ไม้ต้น สูง 10-30 เมตร ทุกส่วนมียางขาว ใบ เดี่ยวเรียงสลับ รูปรีรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก กว้าง 3-9 ซม. ยาว 7-18 ซม. ดอก แยกเพศขนาดเล็ก อยู่ในช่อดอกที่มีรูปร่างคล้ายผล รูปกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 มม.
-
ไม้ต้น สูง 10-30 เมตร ทุกส่วนมียางขาว ใบ เดี่ยวเรียงสลับ รูปรีรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก กว้าง 3-9 ซม. ยาว 7-18 ซม. ดอก แยกเพศขนาดเล็ก อยู่ในช่อดอกที่มีรูปร่างคล้ายผล รูปกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 มม.
-
เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ สูงประมาณ 5-20 เมตร ลำต้น เกลี้ยง เปลือกต้นเป็นสีน้ำตาลหรือน้ำตาลปนเทา กิ่งอ่อนเป็นสีเขียว ส่วนกิ่งแก่เป็นสีน้ำตาลเกลี้ยง ใบ จะเป็นใบเดี่ยวออกเรียงสลับตามกิ่ง ใบเป็นรูปทรงรี หรือรูปหอก โคนใบมนหรือกลม ปลายใบแหลม ผิวใบเกลี้ยงหรือมีขนไม่หลุดร่วงง่าย ขอบใบเรียบ ดอก ขนาดเล็ก เป็นช่อยาวเป็นกระจุกตามกิ่ง โดยแต่ละช่อจะมีดอกย่อยขนาดเล็กเป็นกลุ่ม ดอกสีขาวอมชมพู ผล มีลักษณะกลมแป้นหรือรูปไข่กลับ ผลอ่อนจะเป็นสีเขียว เมื่อสุกแล้วจะเป็นสีแดงเข็มถึงม่วง มีรสฝาดอมหวาน สามารถรับประทานได้ ซึ่งดอกและผลนี้จะออกตลอดปี
ระบบนิเวศ :
-
พบขึ้นทั่วไปตามริมน้ำ ในที่ราบ
-
พบตามริมธารในป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง 350-650เมตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สมุทรปราการ
-
สมุทรปราการ
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
เชียงราย
-
จันทบุรี
-
เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
-
ตาก
-
สุโขทัย
-
กาญจนบุรี
-
นครศรีธรรมราช
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
กระบี่, ตรัง
-
กระบี่, สุราษฎร์ธานี
-
ลพบุรี
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
ลำพูน, ลำปาง
-
แม่ฮ่องสอน
-
พังงา
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ชัยภูมิ
-
ตาก
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
สุรินทร์
-
ชุมพร
-
สุรินทร์
-
ชุมพร
-
ตาก
-
ลำปาง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
บางกระเจ้า
-
พื้นที่คุ้งบางกะเจ้า อำเภอพระประแดง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาสิบห้าชั้น
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
-
อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
- ต้นมะเดื่อ : เป็นไม้ต้นขนาดกลางสูงประมาณ 10–20 เมตร ลำต้นเกลี้ยงสีน้ำตาลหรือน้ำตาลปนเทา กิ่งอ่อนสีเขียว หรือสีเขียวในน้ำตาล กิ่งแก่มีสีน้ำตาลเกลี้ยง หรือมีขนปกคลุม
- ใบ : เป็นใบเดี่ยว ออกแบบสลับ ใบบาง รูปไข่หรือรูปหอก ขอบใบเรียบ ปลายใบแหลม ฐานใบมนหรือกลม ผิวใบเกลี้ยง หรือมีขน ไม่หลุดร่วงง่าย
- ดอก : ออกเป็นช่อ ช่อดอก มีก้านเกิดเป็นกลุ่มบนกิ่งสั้นๆ ที่แตกออกจากลำต้น และกิ่งขนาดใหญ่
- ผล : รูปกลมแป้นหรือรูปไข่ มีขน ออกเป็นกระจุกตามกิ่งและลำต้น เมื่อฉีกออกจะพบเกสรเล็กๆ อยู่ภายในผล ผลสุกมีสีแดง
- ใบ : เป็นใบเดี่ยว ออกแบบสลับ ใบบาง รูปไข่หรือรูปหอก ขอบใบเรียบ ปลายใบแหลม ฐานใบมนหรือกลม ผิวใบเกลี้ยง หรือมีขน ไม่หลุดร่วงง่าย
- ดอก : ออกเป็นช่อ ช่อดอก มีก้านเกิดเป็นกลุ่มบนกิ่งสั้นๆ ที่แตกออกจากลำต้น และกิ่งขนาดใหญ่
- ผล : รูปกลมแป้นหรือรูปไข่ มีขน ออกเป็นกระจุกตามกิ่งและลำต้น เมื่อฉีกออกจะพบเกสรเล็กๆ อยู่ภายในผล ผลสุกมีสีแดง
-
- ต้นมะเดื่อ : เป็นไม้ต้นขนาดกลางสูงประมาณ 10–20 เมตร ลำต้นเกลี้ยงสีน้ำตาลหรือน้ำตาลปนเทา กิ่งอ่อนสีเขียว หรือสีเขียวในน้ำตาล กิ่งแก่มีสีน้ำตาลเกลี้ยง หรือมีขนปกคลุม
- ใบ : เป็นใบเดี่ยว ออกแบบสลับ ใบบาง รูปไข่หรือรูปหอก ขอบใบเรียบ ปลายใบแหลม ฐานใบมนหรือกลม ผิวใบเกลี้ยง หรือมีขน ไม่หลุดร่วงง่าย
- ดอก : ออกเป็นช่อ ช่อดอก มีก้านเกิดเป็นกลุ่มบนกิ่งสั้นๆ ที่แตกออกจากลำต้น และกิ่งขนาดใหญ่
- ผล : รูปกลมแป้นหรือรูปไข่ มีขน ออกเป็นกระจุกตามกิ่งและลำต้น เมื่อฉีกออกจะพบเกสรเล็กๆ อยู่ภายในผล ผลสุกมีสีแดง
- ใบ : เป็นใบเดี่ยว ออกแบบสลับ ใบบาง รูปไข่หรือรูปหอก ขอบใบเรียบ ปลายใบแหลม ฐานใบมนหรือกลม ผิวใบเกลี้ยง หรือมีขน ไม่หลุดร่วงง่าย
- ดอก : ออกเป็นช่อ ช่อดอก มีก้านเกิดเป็นกลุ่มบนกิ่งสั้นๆ ที่แตกออกจากลำต้น และกิ่งขนาดใหญ่
- ผล : รูปกลมแป้นหรือรูปไข่ มีขน ออกเป็นกระจุกตามกิ่งและลำต้น เมื่อฉีกออกจะพบเกสรเล็กๆ อยู่ภายในผล ผลสุกมีสีแดง
การกระจายพันธุ์ :
-
พบตามริมธารในป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง 350-650เมตร
-
พบตามริมธารในป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง 350-650เมตร
-
พบตามริมธารในป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง 350-650เมตร
-
พบตามริมธารในป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง 350-650เมตร
การขยายพันธุ์ :
-
โดยการเพาะเมล็ด และปักชำกิ่ง
-
โดยการเพาะเมล็ด และปักชำกิ่ง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
ส่วนของตัวอย่างที่นำมาใช้ :
-
ราก เปลือกต้น ใบ ยาง ผล
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ราก : ใช้เป็นยาแก้ไข้ ถอนพิษไข้ กระทุ้งพิษไข้ แก้ไข้หัว ไข้กาฬ หรือไข้พิษทุกชนิด
เปลือกต้น : มีรสฝาด แก้อาเจียน ห้ามเลือด ล้างแผล แก้อาการท้องเดิน
ใบ : แก้บิด แก้น้ำดีเป็นพิษ
ผล : ช่วยแก้โรคเบาหวาน ใช้เป็นยาธาตุขับลม
ยาง : แก้งูสวัดและเริม
-
สมุนไพร,ไม้ดอกไม้ประดับ,อาหารสัตว์
-
ตัดรากแล้วนำน้ำในรากมาดื่ม แก้ไอ แก้หวัด
-
นำมาต้มดื่ม แก้ท้องร่วง แก้ไอ
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล
-
กองสิ่งแวดล้อมชุมชนและพื้นที่เฉพาะ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
ไม้ต้นที่มีสรรพคุณทางสมุนไพร และควรนำมาขยายพันธุ์เพื่อฟื้นฟูและอนุรักษ์พื้นที่สีเขียวคุ้งบางกะเจ้าสู่ความยั่งยืน, กองสิ่งแวดล้อมชุมชนและพื้นที่เฉพาะ, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2562
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
ทรัพยากรธรรมชาติของคนชายโขง, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
ป่าชุมชน บ.ทุ่ง ต.แจ้ซ้อน อ.เมืองปาน
-
IUCN Red List
-
คู่มือพันธ์ุไม้ท้องถิ่น ตำบลแม่กิ๊ก อ.ขุนยวม จ.แม่ฮ่องสอน
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |