ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้น
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น ผลัดใบ สูง 20-35 ม. เปลือกนอกสีน้ำตาลถึงเทาเข้ม แตกตามยาว มีขนรูปดาวและขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน แผ่นใบด้านล่าง ช่อดอก กลีบเลี้ยงด้านนอก รังไข่ และผลอ่อน ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 7-18 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว โคนมนหรือกลม ก้านใบยาว 4-8 มม. ช่อดอกส่วนมากออกที่ปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 40 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงยาว 3-4 มม. มีประมาณ 12 สัน ปลายแยกเป็นรูปสามเหลี่ยม 5-6 แฉก ยาวประมาณ 3 มม. ด้านนอกมีขนหนาแน่น ด้านในเกลี้ยง ติดทน ดอกสีขาวหรืออมม่วงอ่อน มี 5-6 กลีบ รูปไข่กลับ ยาว 1-1.5 ซม. รวมก้านกลีบที่ยาว 3-5 มม. ขอบเป็นคลื่น แผ่นกลีบย่น เกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์มี 6-7 อัน ยาวและหนา ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1.5 ซม. ผลแห้งแตกเป็น 6 ซีก รูปขอบขนาน ยาว 1-1.7 ซม. ( ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูงถึง 35 เมตร
ใบ: ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปหอก ยาว 10-18 เซนติเมตร กว้าง 4-6 เซนติเมตร ปลายแหลมถึงเรียวแหลม ฐานมน กลม ขอบเรียบ ใบอ่อนมีขนรูปดาว
ดอก: ดอกแบบช่อกระจะ กลีบเลี้ยง 5-6 กลีบ กลีบดอก 5-6 กลีบ สีขาวหรือชมพูอ่อน เกสรเพศผู้ 6-7 อัน เกสรเพศเมีย อยู่เหนือวงกลีบ
ผล: ผลแก่แล้วแตก กลมหรือรูปไข่ สีน้ำตาลเข้ม
เปลือก: เปลือกสีน้ำตาลเทาเข้ม) ไม้ใหญ่สูงถึง 35 ม. เรือนยอดแคบ เปลือกต้นสีน้ำตาลเทาเข้ม แตกและหลุดเป็นเส้นยาว เปลือกชั้นในเป็นชั้นสีน้ำตาลและขาวบาง ๆ หลายชั้น ใบ 10-18x 4-6.5 ซม. ใบอ่อนมีขนรูปดาวสีเหลือง ใบแก่เกลี้ยง ใบที่จะร่วงสีบรอนส์อมเหลือง เส้นใบข้าง 9-10 คุ่ เส้นใบย่อยสานเป็นขั้นบันได เห็นชัดเจนจากด้านล่าง ก้านใบ 0.6-1 ซม. ดอก 2.7-3.5 ซม. สีขาวหรือสีชมพูอ่อน ชั้นกลีบเลี้ยงแยก 5-6 แฉก มีสัน 10-12 สัน ภายนอกมีขนสีเหลือง ภายในไม่มีขนถึงปลายกลีบ ฐานกลีบดอกแคบคล้ายก้านกลีบ เกสรตัวผู้ขนาดใหญ่ 6-7 อัน สีชมพู ขนาดเล็กมากมาย มีอับเรณูสีเหลือง ผล 1-1.4 ซม. กลมหรือรุปไข่สีน้ำตาลเข้ม มีกลีบเลี้ยงคลุม 1/3 ของผล
- ไม้ต้นผลัดใบ สูงถึง 35 ม. ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปใบหอก รูปรี หรือรูปไข่ กว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 8-13 ซม. มีขนรูปดาวนุ่มคล้ายขนสัตว์หนาแน่น หลุดร่วงง่าย ช่อดอกออกที่ปลายกิ่งหรือบางครั้งออกที่ซอกใบ ยาวถึง 40 ซม. ดอกสีขาว หรือสีฟ้าอ่อน รังไข่มีขน ผลแห้งแล้วแตกเป็น 6 แฉก ผลอ่อนมีขน เมื่อแก่มีขนเฉพาะบริเวณปลายผล ออกดอกเดือน มี.ค.-มิ.ย.
- ไม้ต้น ผลัดใบ สูง 20–35 ม. เปลือกนอกสีน้ำตาลถึงเทาเข้ม แตกตามยาว มีขนรูปดาวและขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน แผ่นใบด้านล่าง ช่อดอก กลีบเลี้ยงด้านนอก รังไข่ และผลอ่อน ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 7–18 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว โคนมนหรือกลม ก้านใบยาว 4–8 มม. ช่อดอกส่วนมากออกที่ปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 40 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงยาว 3–4 มม. มีประมาณ 12 สัน ปลายแยกเป็นรูปสามเหลี่ยม 5–6 แฉก ยาวประมาณ 3 มม. ด้านนอกมีขนหนาแน่น ด้านในเกลี้ยง ติดทน ดอกสีขาวหรืออมม่วงอ่อน มี 5–6 กลีบ รูปไข่กลับ ยาว 1–1.5 ซม. รวมก้านกลีบที่ยาว 3–5 มม. ขอบเป็นคลื่น แผ่นกลีบย่น เกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์มี 6–7 อัน ยาวและหนา ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1.5 ซม. ผลแห้งแตกเป็น 6 ซีก รูปขอบขนาน ยาว 1–1.7 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ตะแบก, สกุล)
- ไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 14 เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปใบหอกหรือรูปวงรี กว้าง 2-8 ซม. ยาว 5-24 ซม. ปลายใบเรียวแหลม แหลมหรือมน เมื่อยังอ่อนอยู่มีขนปุกปุยรูปดาวสีเหลือง เส้นใบ 7-12 คู่ ก้านใบยาว 4-8 มม. ดอกช่อแยกแขนงออกที่ปลายกิ่ง รูปปิรามิด กว้าง 4-15 ซม. ยาว 6-20 ซม. มีขนปุยปุยสีเหลือง ใบประดับย่อยรูปแถบ ร่วงง่าย กลีบเลี้ยง 6 กลีบ เชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย กลีบดอกรูปไข่กลับ สีชมพูแกมม่วง กว้างประมาณ 9 มม. ยาวประมาณ 15 มม. ขอบกลีบเป็นคลื่น เกสรตัวผู้จำนวนมาก ผลแห้งแตก รูปขอบขนาน กว้าง 9-12 มม. ยาว 12-17 มม. มี 6 พู
- ไม้ต้นผลัดใบ สูงถึง 35 ม. ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปใบหอก รูปรี หรือรูปไข่ กว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 8-13 ซม. มีขนรูปดาวนุ่มคล้ายขนสัตว์หนาแน่น หลุดร่วงง่าย ช่อดอกออกที่ปลายกิ่งหรือบางครั้งออกที่ซอกใบ ยาวถึง 40 ซม. ดอกสีขาว หรือสีฟ้าอ่อน รังไข่มีขน ผลแห้งแล้วแตกเป็น 6 แฉก ผลอ่อนมีขน เมื่อแก่มีขนเฉพาะบริเวณปลายผล ออกดอกเดือน มี.ค.-มิ.ย.
ระบบนิเวศ :
- พบทั่วไปในป่าชื้นผลัดใบและกึ่งป่าดิบ หรือป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูง ถึงประมาณ 1,150 ม. จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
การกระจายพันธุ์ :
- -
- -
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- ราชบุรี
- กาญจนบุรี
- ชัยภูมิ
- ตาก
- สุพรรณบุรี
- ลำปาง, ตาก
- กาญจนบุรี
- สุโขทัย
- กาญจนบุรี
- กำแพงเพชร
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- เชียงใหม่
- ลพบุรี
- บุรีรัมย์
- ลำพูน, ลำปาง
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่
- แพร่
- พังงา
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- เพชรบูรณ์
- ตาก
- ราชบุรี
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- ตาก
- ลำปาง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาประทับช้าง
- อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
- อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
- อุทยานแห่งชาติ พุเตย
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
- อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
- อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- ไม้ดอกไม้ประดับ