ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ยืนต้น สูง 10-20 ม. ลำต้นมีหนามแหลมทั่วไป ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย 3 ใบรูปหัวใจ โคนใบตัดหรือมน ปลายใบแหลม กว้าง 5-10 ซม. ยาว 8-14 ซม. เส้นใบด้านล่างเด่นชัด ที่โคนก้านใบจะมีต่อม 1 คู่ ดอกสีแดงสด ออกเป็นช่อเดี่ยว ดอกลักษณะคล้ายดอกถั่ว ดอกล่างจะบานก่อน กลีบรองดอกเป็นหลอด กลีบดอก 5 กลีบ กลีบบนแผ่โค้งรูปเรือ เกสรผู้ 10 อันอยู่ด้านล่าง ผลเป็นฝักแบน โคนฝักลีบ ส่วนปลายฝักจะใหญ่กว่า เมื่อแก่ฝักจะแตกอ้า ออกตามทางยาวจากส่วนปลาย
-
ไม้ยืนต้น สูง 10-20 ม. ลำต้นมีหนามแหลมทั่วไป ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย 3 ใบรูปหัวใจ โคนใบตัดหรือมน ปลายใบแหลม กว้าง 5-10 ซม. ยาว 8-14 ซม. เส้นใบด้านล่างเด่นชัด ที่โคนก้านใบจะมีต่อม 1 คู่ ดอกสีแดงสด ออกเป็นช่อเดี่ยว ดอกลักษณะคล้ายดอกถั่ว ดอกล่างจะบานก่อน กลีบรองดอกเป็นหลอด กลีบดอก 5 กลีบ กลีบบนแผ่โค้งรูปเรือ เกสรผู้ 10 อันอยู่ด้านล่าง ผลเป็นฝักแบน โคนฝักลีบ ส่วนปลายฝักจะใหญ่กว่า เมื่อแก่ฝักจะแตกอ้า ออกตามทางยาวจากส่วนปลาย
-
ไม้ยืนต้น สูง 10-20 ม. ลำต้นมีหนามแหลมทั่วไป ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย 3 ใบรูปหัวใจ โคนใบตัดหรือมน ปลายใบแหลม กว้าง 5-10 ซม. ยาว 8-14 ซม. เส้นใบด้านล่างเด่นชัด ที่โคนก้านใบจะมีต่อม 1 คู่ ดอกสีแดงสด ออกเป็นช่อเดี่ยว ดอกลักษณะคล้ายดอกถั่ว ดอกล่างจะบานก่อน กลีบรองดอกเป็นหลอด กลีบดอก 5 กลีบ กลีบบนแผ่โค้งรูปเรือ เกสรผู้ 10 อันอยู่ด้านล่าง ผลเป็นฝักแบน โคนฝักลีบ ส่วนปลายฝักจะใหญ่กว่า เมื่อแก่ฝักจะแตกอ้า ออกตามทางยาวจากส่วนปลาย
-
ไม้ยืนต้น สูง 10-20 ม. ลำต้นมีหนามแหลมทั่วไป ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย 3 ใบรูปหัวใจ โคนใบตัดหรือมน ปลายใบแหลม กว้าง 5-10 ซม. ยาว 8-14 ซม. เส้นใบด้านล่างเด่นชัด ที่โคนก้านใบจะมีต่อม 1 คู่ ดอกสีแดงสด ออกเป็นช่อเดี่ยว ดอกลักษณะคล้ายดอกถั่ว ดอกล่างจะบานก่อน กลีบรองดอกเป็นหลอด กลีบดอก 5 กลีบ กลีบบนแผ่โค้งรูปเรือ เกสรผู้ 10 อันอยู่ด้านล่าง ผลเป็นฝักแบน โคนฝักลีบ ส่วนปลายฝักจะใหญ่กว่า เมื่อแก่ฝักจะแตกอ้า ออกตามทางยาวจากส่วนปลาย
การกระจายพันธุ์ :
-
จากอินเดียถึงอินโดนีเซีย ตามป่าดิบบริเวณที่ชุ่มชื้น และริมห้วยในป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง 100-900 ม. ผลัดใบระยะสั้นๆ ช่วงออกดอก ติดดอกเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์
-
จากอินเดียถึงอินโดนีเซีย ตามป่าดิบบริเวณที่ชุ่มชื้น และริมห้วยในป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง 100-900 ม. ผลัดใบระยะสั้นๆ ช่วงออกดอก ติดดอกเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์
-
จากอินเดียถึงอินโดนีเซีย ตามป่าดิบบริเวณที่ชุ่มชื้น และริมห้วยในป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง 100-900 ม. ผลัดใบระยะสั้นๆ ช่วงออกดอก ติดดอกเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์
-
จากอินเดียถึงอินโดนีเซีย ตามป่าดิบบริเวณที่ชุ่มชื้น และริมห้วยในป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง 100-900 ม. ผลัดใบระยะสั้นๆ ช่วงออกดอก ติดดอกเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
สระบุรี
-
สระบุรี
-
เชียงราย
-
กำแพงเพชร
-
ตาก
-
พะเยา, เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
เลย
-
เชียงใหม่
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
แม่ฮ่องสอน
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
อุบลราชธานี
-
พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
พิษณุโลก
-
เลย, เพชรบูรณ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
ตาก
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุบลราชธานี
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
พะเยา
-
พะเยา
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
กาญจนบุรี
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ชุมพร
-
ตาก
-
ลำปาง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาวงจันแดง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาวงจันแดง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอนศิลา
-
อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ไม้ดอกไม้ประดับ
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช