ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
ต้นทองกวาว มีถิ่นกำเนิดในแถบเอเชียใต้ จากประเทศไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย ศรีลังกา เนปาล บังกลาเทศ ปากีสถาน อินเดีย และในแถบทางภาคตะวันตกของอินโดนีเซีย โดยจัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง มีความสูงประมาณ 12-18 เมตร กิ่งอ่อนมีขนละเอียดสีน้ำตาลหนา ลักษณะของการแตกกิ่งก้านจะเป็นไปในทิศทางที่ไม่เป็นระเบียบ ส่วนเปลือกต้นจะเป็นปุ่มปม
-
ต้นทองกวาว มีถิ่นกำเนิดในแถบเอเชียใต้ จากประเทศไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย ศรีลังกา เนปาล บังกลาเทศ ปากีสถาน อินเดีย และในแถบทางภาคตะวันตกของอินโดนีเซีย โดยจัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง มีความสูงประมาณ 12-18 เมตร กิ่งอ่อนมีขนละเอียดสีน้ำตาลหนา ลักษณะของการแตกกิ่งก้านจะเป็นไปในทิศทางที่ไม่เป็นระเบียบ ส่วนเปลือกต้นจะเป็นปุ่มปม
-
ต้นทองกวาว มีถิ่นกำเนิดในแถบเอเชียใต้ จากประเทศไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย ศรีลังกา เนปาล บังกลาเทศ ปากีสถาน อินเดีย และในแถบทางภาคตะวันตกของอินโดนีเซีย โดยจัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง มีความสูงประมาณ 12-18 เมตร กิ่งอ่อนมีขนละเอียดสีน้ำตาลหนา ลักษณะของการแตกกิ่งก้านจะเป็นไปในทิศทางที่ไม่เป็นระเบียบ ส่วนเปลือกต้นจะเป็นปุ่มปม
-
ต้นทองกวาว มีถิ่นกำเนิดในแถบเอเชียใต้ จากประเทศไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย ศรีลังกา เนปาล บังกลาเทศ ปากีสถาน อินเดีย และในแถบทางภาคตะวันตกของอินโดนีเซีย โดยจัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง มีความสูงประมาณ 12-18 เมตร กิ่งอ่อนมีขนละเอียดสีน้ำตาลหนา ลักษณะของการแตกกิ่งก้านจะเป็นไปในทิศทางที่ไม่เป็นระเบียบ ส่วนเปลือกต้นจะเป็นปุ่มปม
-
ต้นทองกวาว มีถิ่นกำเนิดในแถบเอเชียใต้ จากประเทศไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย ศรีลังกา เนปาล บังกลาเทศ ปากีสถาน อินเดีย และในแถบทางภาคตะวันตกของอินโดนีเซีย โดยจัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง มีความสูงประมาณ 12-18 เมตร กิ่งอ่อนมีขนละเอียดสีน้ำตาลหนา ลักษณะของการแตกกิ่งก้านจะเป็นไปในทิศทางที่ไม่เป็นระเบียบ ส่วนเปลือกต้นจะเป็นปุ่มปม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. แตกกิ่งต่ำ หูใบและหูใบย่อยขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบประกอบมี 3 ใบย่อย ก้านใบยาวได้ถึง 10 ซม. ใบย่อยขนาดไม่เท่ากัน ยาว 14-17 ซม. ปลายกลมหรือเว้าตื้น ๆ โคนมักเบี้ยว ใบปลายรูปไข่กลับกว้างเกือบกลม ก้านยาวได้ถึง 5 ซม. ใบข้างรูปไข่ ก้านยาว 0.5-1 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงคล้ายช่อกระจุก ออกตามซอกใบหรือตามกิ่ง ยาวได้ถึง 50 ซม. มีขนละเอียด ใบประดับขนาดเล็ก ร่วงเร็ว กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยาว 1-1.2 ซม. มีขนทั้งสองด้าน ปลายจักตื้น ๆ กลีบบน 2 กลีบ กลีบล่าง 3 กลีบ ดอกโค้งงอ สีส้มหรือเหลือง ยาว 5-5.5 ซม. มีขนละเอียด กลีบกลางรูปไข่แกมรูปขอบขนาน กลีบปีกและกลีบคู่ล่างรูปเคียว เชื่อมติดกัน กลีบคู่ล่างกว้างและยาวกว่ากลีบปีกเล็กน้อย ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกัน 2 กลุ่ม กลุ่มหนึ่งมี 9 อัน อีกกลุ่มหนึ่งมี 1 อัน รังไข่มีขนละเอียด ก้านเกสรเพศเมียโค้งเข้า ยอดเกสรเป็นตุ่ม ฝักรูปขอบขนาน แบน ยาว 12-15 ซม. ปลายกลม ก้านยาวประมาณ 1.5 ซม. มีเมล็ดเดียวอยู่ที่ปลายผล แบน ยาว 3-3.5 มม.
-
ไม้ต้น สูง 8-15 เมตร ลำต้นมักคดงอ ใบ เป็นใบประกอบ แบบมีใบย่อย 3 ใบ รูปคล้ายสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน หรือเกือบกลม กว้าง 8-15 ซม. ยาว 9-15 ซม. ปลายใบทู่ โคนใบไม่สมมาตร ดอก สีเหลืองออกเป็นช่อแน่นตามกิ่งก้าน และปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 20 ซม. ดอกย่อยรูปดอกถั่ว ยาวประมาณ 7 ซม. กลีบรองดอก เป็นถ้วยสีเข้ม ปลายแยก 4-5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ เกสรผู้ 10 อัน ผล เป็นฝักแบน รูปขอบขนาน กว้าง 3.5 ซม. ยาว 14 ซม. โค้งงอเล็กน้อย มีขนอ่อนนุ่ม สีขาวปกคลุม มีเพียงเมล็ดเดียวที่ปลายฝัก
-
บรรยายลักษณะต้น:ไม้ต้นขนาดกลาง สูงประมาณ 12-18 เมตร เปลือกต้นเป็นปุ่มปม กิ่งอ่อนมีขนละเอียดสีน้ำตาลหนา การแตกกิ่งก้านไปในทิศทางที่ไม่ค่อยเป็นระเบียบใบ:ใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อย 3 ใบ เรียงสลับใบย่อยที่ปลายรูปไข่ กลีบแกมสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ใบย่อยด้านข้างเป็นรูปไม่เบี้ยว กว้าง 8-15 เซนติเมตร ยาว 9-17 เซนติเมตร ขอบใบเรียบดอก:ดอกออกแบบช่อ คล้ายดอกถั่วสีแดงส้ม มีความยาว 6-15 เซนติเมตร มีดอกย่อยเกาะเป็นกลุ่ม เวลาบานมี 5 กลีบผล:ผลแบบฝักสีน้ำตาลอ่อน แบน โค้งงอเล็กน้อย ไม่แตก ด้านบนหนาแตกเป็น 2 ซีก มีเมล็ดขนาดเล็กอยู่ภายใน 1 เมล็ด เปลือก:อื่นๆ:
ไม้ต้นขนาดกลาง สูงประมาณ 12-18 เมตร เปลือกต้นเป็นปุ่มปม กิ่งอ่อนมีขนละเอียดสีน้ำตาลหนา การแตกกิ่งก้านไปในทิศทางที่ไม่ค่อยเป็นระเบียบ
ใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อย 3 ใบ เรียงสลับใบย่อยที่ปลายรูปไข่ กลีบแกมสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ใบย่อยด้านข้างเป็นรูปไม่เบี้ยว กว้าง 8-15 เซนติเมตร ยาว 9-17 เซนติเมตร ขอบใบเรียบ
ดอกออกแบบช่อ คล้ายดอกถั่วสีแดงส้ม มีความยาว 6-15 เซนติเมตร มีดอกย่อยเกาะเป็นกลุ่ม เวลาบานมี 5 กลีบ
ผลแบบฝักสีน้ำตาลอ่อน แบน โค้งงอเล็กน้อย ไม่แตก ด้านบนหนาแตกเป็น 2 ซีก มีเมล็ดขนาดเล็กอยู่ภายใน 1 เมล็ด
ไม้ต้นขนาดกลาง สูงประมาณ 12-18 เมตร เปลือกต้นเป็นปุ่มปม กิ่งอ่อนมีขนละเอียดสีน้ำตาลหนา การแตกกิ่งก้านไปในทิศทางที่ไม่ค่อยเป็นระเบียบ
ใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อย 3 ใบ เรียงสลับใบย่อยที่ปลายรูปไข่ กลีบแกมสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ใบย่อยด้านข้างเป็นรูปไม่เบี้ยว กว้าง 8-15 เซนติเมตร ยาว 9-17 เซนติเมตร ขอบใบเรียบ
ดอกออกแบบช่อ คล้ายดอกถั่วสีแดงส้ม มีความยาว 6-15 เซนติเมตร มีดอกย่อยเกาะเป็นกลุ่ม เวลาบานมี 5 กลีบ
ผลแบบฝักสีน้ำตาลอ่อน แบน โค้งงอเล็กน้อย ไม่แตก ด้านบนหนาแตกเป็น 2 ซีก มีเมล็ดขนาดเล็กอยู่ภายใน 1 เมล็ด
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. แตกกิ่งต่ำ หูใบและหูใบย่อยขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบประกอบมี 3 ใบย่อย ก้านใบยาวได้ถึง 10 ซม. ใบย่อยขนาดไม่เท่ากัน ยาว 14–17 ซม. ปลายกลมหรือเว้าตื้น ๆ โคนมักเบี้ยว ใบปลายรูปไข่กลับกว้างเกือบกลม ก้านยาวได้ถึง 5 ซม. ใบข้างรูปไข่ ก้านยาว 0.5–1 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงคล้ายช่อกระจุก ออกตามซอกใบหรือตามกิ่ง ยาวได้ถึง 50 ซม. มีขนละเอียด ใบประดับขนาดเล็ก ร่วงเร็ว กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยาว 1–1.2 ซม. มีขนทั้งสองด้าน ปลายจักตื้น ๆ กลีบบน 2 กลีบ กลีบล่าง 3 กลีบ ดอกโค้งงอ สีส้มหรือเหลือง ยาว 5–5.5 ซม. มีขนละเอียด กลีบกลางรูปไข่แกมรูปขอบขนาน กลีบปีกและกลีบคู่ล่างรูปเคียว เชื่อมติดกัน กลีบคู่ล่างกว้างและยาวกว่ากลีบปีกเล็กน้อย ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกัน 2 กลุ่ม กลุ่มหนึ่งมี 9 อัน อีกกลุ่มหนึ่งมี 1 อัน รังไข่มีขนละเอียด ก้านเกสรเพศเมียโค้งเข้า ยอดเกสรเป็นตุ่ม ฝักรูปขอบขนาน แบน ยาว 12–15 ซม. ปลายกลม ก้านยาวประมาณ 1.5 ซม. มีเมล็ดเดียวอยู่ที่ปลายผล แบน ยาว 3–3.5 มม.
-
ไม้ต้น สูง 8-15 เมตร ลำต้นมักคดงอ ใบ เป็นใบประกอบ แบบมีใบย่อย 3 ใบ รูปคล้ายสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน หรือเกือบกลม กว้าง 8-15 ซม. ยาว 9-15 ซม. ปลายใบทู่ โคนใบไม่สมมาตร ดอก สีเหลืองออกเป็นช่อแน่นตามกิ่งก้าน และปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 20 ซม. ดอกย่อยรูปดอกถั่ว ยาวประมาณ 7 ซม. กลีบรองดอก เป็นถ้วยสีเข้ม ปลายแยก 4-5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ เกสรผู้ 10 อัน ผล เป็นฝักแบน รูปขอบขนาน กว้าง 3.5 ซม. ยาว 14 ซม. โค้งงอเล็กน้อย มีขนอ่อนนุ่ม สีขาวปกคลุม มีเพียงเมล็ดเดียวที่ปลายฝัก
-
ไม้ต้น สูง 8-15 เมตร ลำต้นมักคดงอ ใบ เป็นใบประกอบ แบบมีใบย่อย 3 ใบ รูปคล้ายสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน หรือเกือบกลม กว้าง 8-15 ซม. ยาว 9-15 ซม. ปลายใบทู่ โคนใบไม่สมมาตร ดอก สีเหลืองออกเป็นช่อแน่นตามกิ่งก้าน และปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 20 ซม. ดอกย่อยรูปดอกถั่ว ยาวประมาณ 7 ซม. กลีบรองดอก เป็นถ้วยสีเข้ม ปลายแยก 4-5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ เกสรผู้ 10 อัน ผล เป็นฝักแบน รูปขอบขนาน กว้าง 3.5 ซม. ยาว 14 ซม. โค้งงอเล็กน้อย มีขนอ่อนนุ่ม สีขาวปกคลุม มีเพียงเมล็ดเดียวที่ปลายฝัก
-
ไม้ต้น สูง 8-15 เมตร ลำต้นมักคดงอ ใบ เป็นใบประกอบ แบบมีใบย่อย 3 ใบ รูปคล้ายสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน หรือเกือบกลม กว้าง 8-15 ซม. ยาว 9-15 ซม. ปลายใบทู่ โคนใบไม่สมมาตร ดอก สีเหลืองออกเป็นช่อแน่นตามกิ่งก้าน และปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 20 ซม. ดอกย่อยรูปดอกถั่ว ยาวประมาณ 7 ซม. กลีบรองดอก เป็นถ้วยสีเข้ม ปลายแยก 4-5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ เกสรผู้ 10 อัน ผล เป็นฝักแบน รูปขอบขนาน กว้าง 3.5 ซม. ยาว 14 ซม. โค้งงอเล็กน้อย มีขนอ่อนนุ่ม สีขาวปกคลุม มีเพียงเมล็ดเดียวที่ปลายฝัก
ระบบนิเวศ :
-
ความสูงถึงประมาณ 750 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
อินเดีย เมียนม่าห์ และภูมิภาค อินโดจีน ในประเทศไทยพบตามป่าผลัดใบหรือปลูกประดับ ริมข้างทาง ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ออกดอก ช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม
-
พบขึ้นในป่าดิบแล้ง ความสูง 220 เมตร จะออกดอกดกที่สุดในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี
-
อินเดีย เมียนม่าห์ และภูมิภาค อินโดจีน ในประเทศไทยพบตามป่าผลัดใบหรือปลูกประดับ ริมข้างทาง ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ออกดอก ช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม
-
อินเดีย เมียนม่าห์ และภูมิภาค อินโดจีน ในประเทศไทยพบตามป่าผลัดใบหรือปลูกประดับ ริมข้างทาง ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ออกดอก ช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม
-
อินเดีย เมียนม่าห์ และภูมิภาค อินโดจีน ในประเทศไทยพบตามป่าผลัดใบหรือปลูกประดับ ริมข้างทาง ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ออกดอก ช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงโขงหลง
-
ป่าสงวนแห่งชาติป่าสีสุก ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่วงก์ – แม่เปิน ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร
-
อุทยานแห่งชาติ ภูเวียง
-
อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
ยโสธร,อำนาจเจริญ,อุบลราชธานี
การขยายพันธุ์ :
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การปักชำกิ่ง
2. การปักชำกิ่ง
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การปักชำกิ่ง
2. การปักชำกิ่ง
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การปักชำกิ่ง
2. การปักชำกิ่ง
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การปักชำกิ่ง
2. การปักชำกิ่ง
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การปักชำกิ่ง
2. การปักชำกิ่ง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ขอนแก่น
-
ตาก
-
จันทบุรี
-
พะเยา, น่าน
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุบลราชธานี
-
ตาก
-
อุบลราชธานี
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
ตาก
-
ลำปาง
-
นนทบุรี
-
พื้นที่ลุ่มน้ำลำเซบาย
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร
ที่มาของข้อมูล
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
สำนักงานความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้
-
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
ป่าทามลำเซบาย, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สมาคมภูมินิเวศพัฒนาอย่างยั่งยืน, 2559
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช