ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- เชียงใหม่
- ชลบุรี
- ราชบุรี
- สระบุรี
- ลำปาง
- อุทัยธานี
- พิษณุโลก
- กาญจนบุรี
- ระยอง, จันทบุรี
- ประจวบคีรีขันธ์
- จันทบุรี
- กำแพงเพชร
- ลำปาง, ลำพูน
- ตาก
- ชัยภูมิ
- แม่ฮ่องสอน
- สระบุรี
- สระบุรี
- ชัยภูมิ
- สุพรรณบุรี
- ลำปาง, ตาก
- กาญจนบุรี
- นครศรีธรรมราช
- ชลบุรี
- ชลบุรี
- จันทบุรี
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- สุราษฎร์ธานี
- พังงา
- สุโขทัย, ลำปาง
- สุโขทัย, ลำปาง
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- เลย
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- ราชบุรี
- พะเยา
- กาญจนบุรี
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- ชุมพร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาชีโอน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาประทับช้าง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาวงจันแดง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ถ้ำประทุน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ถ้ำผาท่าพล
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า อุทยานสมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรี
- อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
- อุทยานแห่งชาติ เขาสามร้อยยอด
- อุทยานแห่งชาติ เขาสิบห้าชั้น
- อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
- อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
- อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
- อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
- อุทยานแห่งชาติ พุเตย
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ใบสีเขียวและดอกดก ผลแก่จัดเป็นสีเหลือง
การกระจายพันธุ์ :
- มีเขตการกระจายพันธุ์ทั่วไปในป่าผลัดใบ ชายป่า ที่รกร้างและด้านหลังชายหาด ที่ความสูงตั้งแต่ระดับน้ำทะเลปานกลางถึง 375 มิลลิเมตร
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง สูง 20 เมตร ผลัดใบ เรือนยอดรูปไข่หรือเป็นพุ่มกลม โปร่ง เปลือกนอกสีเทาดำ เรียบ แตกเป็นสะเก็ดเล็ก ๆ มีรูระบายอากาศสีน้ำตาลทั่วไป เปลือกในสีขาว มีหนามยาวๆ อยู่ประปรายตามลำต้นหรือกิ่งไม้
ใบ ใบประกอบแบบขนนก ออกเรียงสลับกัน ใบย่อยรูปหอกปลายและโคนแหลม ขนาดไม่โตมากมีลักษณะคล้ายกับผักหวาน ท้องใบมีขนสั้นนุ่ม
ดอก ขนาดเล็ก สีขาวหรือสีเหลือง ออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงตามซอกใบค่อนไปทางปลายกิ่งมีพิษกินเข้าไปตายได้
ผล เมื่อแก่จัดจะมีสีเหลือง ผลแห้งมีปีกยาว 3 ปีก เรียงตามยาว เมล็ดกว้าง 1-2 ซ.ม. สีนำตาลอ่อน เมล็ดรูปไข่
- ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง สูง 20 เมตร ผลัดใบ เรือนยอดรูปไข่หรือเป็นพุ่มกลม โปร่ง เปลือกนอกสีเทาดำ เรียบ แตกเป็นสะเก็ดเล็ก ๆ มีรูระบายอากาศสีน้ำตาลทั่วไป เปลือกในสีขาว มีหนามยาวๆ อยู่ประปรายตามลำต้นหรือกิ่งไม้
ใบ ใบประกอบแบบขนนก ออกเรียงสลับกัน ใบย่อยรูปหอกปลายและโคนแหลม ขนาดไม่โตมากมีลักษณะคล้ายกับผักหวาน ท้องใบมีขนสั้นนุ่ม
ดอก ขนาดเล็ก สีขาวหรือสีเหลือง ออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงตามซอกใบค่อนไปทางปลายกิ่งมีพิษกินเข้าไปตายได้
ผล เมื่อแก่จัดจะมีสีเหลือง ผลแห้งมีปีกยาว 3 ปีก เรียงตามยาว เมล็ดกว้าง 1-2 ซ.ม. สีนำตาลอ่อน เมล็ดรูปไข่
- ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง สูง 20 เมตร ผลัดใบ เรือนยอดรูปไข่หรือเป็นพุ่มกลม โปร่ง เปลือกนอกสีเทาดำ เรียบ แตกเป็นสะเก็ดเล็ก ๆ มีรูระบายอากาศสีน้ำตาลทั่วไป เปลือกในสีขาว มีหนามยาวๆ อยู่ประปรายตามลำต้นหรือกิ่งไม้
ใบ ใบประกอบแบบขนนก ออกเรียงสลับกัน ใบย่อยรูปหอกปลายและโคนแหลม ขนาดไม่โตมากมีลักษณะคล้ายกับผักหวาน ท้องใบมีขนสั้นนุ่ม
ดอก ขนาดเล็ก สีขาวหรือสีเหลือง ออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงตามซอกใบค่อนไปทางปลายกิ่งมีพิษกินเข้าไปตายได้
ผล เมื่อแก่จัดจะมีสีเหลือง ผลแห้งมีปีกยาว 3 ปีก เรียงตามยาว เมล็ดกว้าง 1-2 ซ.ม. สีนำตาลอ่อน เมล็ดรูปไข่
- ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง สูง 20 เมตร ผลัดใบ เรือนยอดรูปไข่หรือเป็นพุ่มกลม โปร่ง เปลือกนอกสีเทาดำ เรียบ แตกเป็นสะเก็ดเล็ก ๆ มีรูระบายอากาศสีน้ำตาลทั่วไป เปลือกในสีขาว มีหนามยาวๆ อยู่ประปรายตามลำต้นหรือกิ่งไม้
ใบ ใบประกอบแบบขนนก ออกเรียงสลับกัน ใบย่อยรูปหอกปลายและโคนแหลม ขนาดไม่โตมากมีลักษณะคล้ายกับผักหวาน ท้องใบมีขนสั้นนุ่ม
ดอก ขนาดเล็ก สีขาวหรือสีเหลือง ออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงตามซอกใบค่อนไปทางปลายกิ่งมีพิษกินเข้าไปตายได้
ผล เมื่อแก่จัดจะมีสีเหลือง ผลแห้งมีปีกยาว 3 ปีก เรียงตามยาว เมล็ดกว้าง 1-2 ซ.ม. สีนำตาลอ่อน เมล็ดรูปไข่
- ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง สูง 20 เมตร ผลัดใบ เรือนยอดรูปไข่หรือเป็นพุ่มกลม โปร่ง เปลือกนอกสีเทาดำ เรียบ แตกเป็นสะเก็ดเล็ก ๆ มีรูระบายอากาศสีน้ำตาลทั่วไป เปลือกในสีขาว มีหนามยาวๆ อยู่ประปรายตามลำต้นหรือกิ่งไม้
ใบ ใบประกอบแบบขนนก ออกเรียงสลับกัน ใบย่อยรูปหอกปลายและโคนแหลม ขนาดไม่โตมากมีลักษณะคล้ายกับผักหวาน ท้องใบมีขนสั้นนุ่ม
ดอก ขนาดเล็ก สีขาวหรือสีเหลือง ออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงตามซอกใบค่อนไปทางปลายกิ่งมีพิษกินเข้าไปตายได้
ผล เมื่อแก่จัดจะมีสีเหลือง ผลแห้งมีปีกยาว 3 ปีก เรียงตามยาว เมล็ดกว้าง 1-2 ซ.ม. สีนำตาลอ่อน เมล็ดรูปไข่
การขยายพันธุ์ :
- การเพาะเมล็ด
- การเพาะเมล็ด
- การเพาะเมล็ด
- การเพาะเมล็ด
- การเพาะเมล็ด