ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 10-15 ม. ใบเป็นใบประกอบ ใบย่อยมี 3-4 คู่ แกนช่อใบยาว 2-4 ซม. แผ่นใบหนา รูปไข่กว้าง ขนาดกว้าง 3-8 ซม. ยาว 6-15 ซม. ดอกสีเหลืองแกมแดง ออกเป็นช่อ ยาว 10-25 ซม. ทุกส่วนมีขนสีน้ำตาล ก้านดอกย่อย ยาว 0.2-0.4 ซม. กลีบรองดอกรูปไข่กว้าง ปลายกลีบมีหนามขนาดเล็ก กลีบดอกยาว 7 มม. เกสรผู้ 10 อัน มี 2 อันใหญ่กว่าอันอื่น ผลเป็นฝักเดี่ยว สีดำ มีหนามแหลมที่ผิวทั่วไป รูปไข่กว้าง โคนเบี้ยวและมักมีติ่งแหลม ขนาดผ่าศูนย์กลาง 4.5-10 ซม. ภายในมี 1-3 เมล็ด
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน แผ่นใบด้านล่าง และช่อดอก ใบประกอบปลายคู่ ก้านใบประกอบยาว 2–4 ซม. ใบย่อยมี 3–4 คู่ รูปรี ยาว 6–15 ซม. ปลายกลม เว้าตื้น ๆ แผ่นใบด้านบนมีขนสาก มักมีต่อมใกล้ขอบใบด้านล่างด้านหนึ่ง ก้านใบย่อยยาวประมาณ 5 มม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ยาว 10–25 ซม. ใบประดับรูปไข่ ยาว 3–6 มม. ติดทน ใบประดับย่อยขนาดเล็กติดใต้กึ่งกลางก้านดอก ก้านดอกยาว 2–4 มม. กลีบเลี้ยงมี 4 กลีบ รูปเรือ 1 กลีบ รูปใบหอก 3 กลีบ ยาวประมาณ 7 มม. มีตุ่มกระจาย ปลายกลีบมีหนามเล็ก ๆ กลีบดอกมีกลีบเดียว สีเหลืองอมแดง ยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง เกสรเพศผู้ 10 อัน 9 อันเชื่อมติดกันที่โคนเป็นแผ่น 2 อันด้านบนยาว 1.5–2 ซม. 7 อันขนาดเล็ก รังไข่มีก้านสั้น มีขนหยาบและหนามเล็ก ๆ ก้านเกสรเพศเมียโค้ง ยอดเกสรเป็นตุ่ม ฝักแห้งแตก แบนคล้ายรูปไข่ ยาว 4.5–10 ซม. ปลายมีจะงอย ยาว 5–7 มม. ผิวมีหนามกระจาย มี 1–3 เมล็ด เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5–2 ซม. ขั้วเมล็ดมีเยื่อหุ้มหนา
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 10-15 ม. ใบเป็นใบประกอบ ใบย่อยมี 3-4 คู่ แกนช่อใบยาว 2-4 ซม. แผ่นใบหนา รูปไข่กว้าง ขนาดกว้าง 3-8 ซม. ยาว 6-15 ซม. ดอกสีเหลืองแกมแดง ออกเป็นช่อ ยาว 10-25 ซม. ทุกส่วนมีขนสีน้ำตาล ก้านดอกย่อย ยาว 0.2-0.4 ซม. กลีบรองดอกรูปไข่กว้าง ปลายกลีบมีหนามขนาดเล็ก กลีบดอกยาว 7 มม. เกสรผู้ 10 อัน มี 2 อันใหญ่กว่าอันอื่น ผลเป็นฝักเดี่ยว สีดำ มีหนามแหลมที่ผิวทั่วไป รูปไข่กว้าง โคนเบี้ยวและมักมีติ่งแหลม ขนาดผ่าศูนย์กลาง 4.5-10 ซม. ภายในมี 1-3 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
-
จากภูมิภาคอินโดจีนถึงมาเลเซีย ตามป่าผลัดใบ ป่าดิบแล้ง และป่าชายหาดที่ระดับใกล้น้ำทะล จนถึงระดับ 400 ม.
-
จากภูมิภาคอินโดจีนถึงมาเลเซีย ตามป่าผลัดใบ ป่าดิบแล้ง และป่าชายหาดที่ระดับใกล้น้ำทะล จนถึงระดับ 400 ม.
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
- ต้น มะค่าแต้เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบสูง 10–25 เมตร เปลือกสีเทาคล้ำแตกเป็นสะเก็ดเล็กๆ เรือนยอดแผ่รูปเจดีย์ต่ำ
- ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนกเรียงสลับ ใบย่อยเรียงตรงข้ามกัน แผ่นใบรูปรี ปลายใบและโคนใบมน ผิวใบด้านล่างมีขนสั้น
- ดอก ขนาดเล็ก สีเหลือง ออกรวมกันเป็นช่อตามปลายกิ่ง
- ผล เป็นฝักรูปโล่ ผิวฝักมีหนามแหลมแข็งแตกเมื่อแห้ง
- ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนกเรียงสลับ ใบย่อยเรียงตรงข้ามกัน แผ่นใบรูปรี ปลายใบและโคนใบมน ผิวใบด้านล่างมีขนสั้น
- ดอก ขนาดเล็ก สีเหลือง ออกรวมกันเป็นช่อตามปลายกิ่ง
- ผล เป็นฝักรูปโล่ ผิวฝักมีหนามแหลมแข็งแตกเมื่อแห้ง
-
- ต้น มะค่าแต้เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบสูง 10–25 เมตร เปลือกสีเทาคล้ำแตกเป็นสะเก็ดเล็กๆ เรือนยอดแผ่รูปเจดีย์ต่ำ
- ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนกเรียงสลับ ใบย่อยเรียงตรงข้ามกัน แผ่นใบรูปรี ปลายใบและโคนใบมน ผิวใบด้านล่างมีขนสั้น
- ดอก ขนาดเล็ก สีเหลือง ออกรวมกันเป็นช่อตามปลายกิ่ง
- ผล เป็นฝักรูปโล่ ผิวฝักมีหนามแหลมแข็งแตกเมื่อแห้ง
- ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนกเรียงสลับ ใบย่อยเรียงตรงข้ามกัน แผ่นใบรูปรี ปลายใบและโคนใบมน ผิวใบด้านล่างมีขนสั้น
- ดอก ขนาดเล็ก สีเหลือง ออกรวมกันเป็นช่อตามปลายกิ่ง
- ผล เป็นฝักรูปโล่ ผิวฝักมีหนามแหลมแข็งแตกเมื่อแห้ง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
มุกดาหาร
-
เพชรบุรี
-
ราชบุรี
-
พิษณุโลก
-
อุตรดิตถ์
-
นครราชสีมา
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
เพชรบูรณ์
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
อุดรธานี, เลย, หนองคาย
-
ขอนแก่น, ชัยภูมิ
-
ขอนแก่น, ชัยภูมิ
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
มุกดาหาร
-
มุกดาหาร
-
มุกดาหาร
-
สกลนคร, กาฬสินธุ์
-
สกลนคร, กาฬสินธุ์
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ขอนแก่น
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
ลำปาง, ตาก
-
สุโขทัย
-
สุโขทัย
-
สุโขทัย
-
กาญจนบุรี
-
ชลบุรี
-
กำแพงเพชร
-
จันทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
บุรีรัมย์
-
บุรีรัมย์
-
พะเยา, น่าน
-
ลำพูน, ลำปาง
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
ศรีสะเกษ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
พิษณุโลก
-
บึงกาฬ
-
บึงกาฬ
-
กาฬสินธุ์
-
กาฬสินธุ์
-
กาฬสินธุ์
-
ตาก
-
ราชบุรี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
ตาก
-
ลำปาง
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
-
หนองคาย
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ภูผาเทิบ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขากระปุก-เขาเตาหม้อ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาประทับช้าง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาใหญ่-เขาหน้าผาตั้งและเขาตาพรม
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ นายูง-น้ำโสม
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำพอง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำพอง
-
อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
-
อุทยานแห่งชาติ ภูจอง-นายอย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูจอง-นายอย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
-
อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
-
อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
-
อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
-
อุทยานแห่งชาติ ภูเวียง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
-
อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
-
อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
ป่าดงดิบกะลา ป่าภูสิงห์ และป่าดงสีชมพู หนองคาย
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
การขยายพันธุ์ :
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
2. การตอนกิ่ง
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
2. การตอนกิ่ง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร,เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย,เมล็ด ต้มดื่ม แก้พยาธิ แก้โรคผิวหนัง เนื้อไม้ใช้ก่อสร้าง ทำเครื่องมือเกษตรกรรมและทำเครื่องเรือน
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
กรมป่าไม้
-
IUCN Red List
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |