ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ล้มลุกคลุมดิน ลำต้นแตกกิ่งทอดขนานกับพื้น กิ่งอ่อน และยอดอ่อนมีขนสีขาว ใบ เป็นใบประกอบแบบมีใบย่อยสามใบ รูปไข่กลับ ขนาด 0.5-1 ซม. ด้านล่างมีขนสีขาว หูใบย่อยขนาดเล็ก มาก ดอก สีม่วง ออกเป็นช่อกระจะตามซอกใบใกล้ปลายยอด ดอกย่อยขนาดเล็ก รูปดอกถั่ว กลีบรองดอกโคนติดกันเป็นรูปถ้วย ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ เกสรผู้ 10 อัน ผล เป็นฝักแบน โค้งเล็กน้อย ยาวได้ถึง 1.7 ซม. หยักเป็นข้อระหว่างเมล็ด 3-5 ข้อ เมื่อแห้งแต่ละข้อจะหลุดจากกัน เมล็ดขนาดเล็ก รูปไต
- ไม้ล้มลุกคลุมดิน ลำต้นแตกกิ่งทอดขนานกับพื้น กิ่งอ่อน และยอดอ่อนมีขนสีขาว ใบ เป็นใบประกอบแบบมีใบย่อยสามใบ รูปไข่กลับ ขนาด 0.5-1 ซม. ด้านล่างมีขนสีขาว หูใบย่อยขนาดเล็ก มาก ดอก สีม่วง ออกเป็นช่อกระจะตามซอกใบใกล้ปลายยอด ดอกย่อยขนาดเล็ก รูปดอกถั่ว กลีบรองดอกโคนติดกันเป็นรูปถ้วย ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ เกสรผู้ 10 อัน ผล เป็นฝักแบน โค้งเล็กน้อย ยาวได้ถึง 1.7 ซม. หยักเป็นข้อระหว่างเมล็ด 3-5 ข้อ เมื่อแห้งแต่ละข้อจะหลุดจากกัน เมล็ดขนาดเล็ก รูปไต
- ไม้ล้มลุกคลุมดิน ลำต้นแตกกิ่งทอดขนานกับพื้น กิ่งอ่อน และยอดอ่อนมีขนสีขาว ใบ เป็นใบประกอบแบบมีใบย่อยสามใบ รูปไข่กลับ ขนาด 0.5-1 ซม. ด้านล่างมีขนสีขาว หูใบย่อยขนาดเล็ก มาก ดอก สีม่วง ออกเป็นช่อกระจะตามซอกใบใกล้ปลายยอด ดอกย่อยขนาดเล็ก รูปดอกถั่ว กลีบรองดอกโคนติดกันเป็นรูปถ้วย ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ เกสรผู้ 10 อัน ผล เป็นฝักแบน โค้งเล็กน้อย ยาวได้ถึง 1.7 ซม. หยักเป็นข้อระหว่างเมล็ด 3-5 ข้อ เมื่อแห้งแต่ละข้อจะหลุดจากกัน เมล็ดขนาดเล็ก รูปไต
- ไม้ล้มลุกคลุมดิน ลำต้นแตกกิ่งทอดขนานกับพื้น กิ่งอ่อน และยอดอ่อนมีขนสีขาว ใบ เป็นใบประกอบแบบมีใบย่อยสามใบ รูปไข่กลับ ขนาด 0.5-1 ซม. ด้านล่างมีขนสีขาว หูใบย่อยขนาดเล็ก มาก ดอก สีม่วง ออกเป็นช่อกระจะตามซอกใบใกล้ปลายยอด ดอกย่อยขนาดเล็ก รูปดอกถั่ว กลีบรองดอกโคนติดกันเป็นรูปถ้วย ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ เกสรผู้ 10 อัน ผล เป็นฝักแบน โค้งเล็กน้อย ยาวได้ถึง 1.7 ซม. หยักเป็นข้อระหว่างเมล็ด 3-5 ข้อ เมื่อแห้งแต่ละข้อจะหลุดจากกัน เมล็ดขนาดเล็ก รูปไต
- เป็นพืชล้มลุก สูง 4.5-12.5 เซนติเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางลำต้น 0.6-1.1 มิลลิเมตร ช่อดอกยาว 0.5-2.5 เซนติเมตร
การกระจายพันธุ์ :
- พบกระจายในเขตร้อนทั่วไป ประเทศไทยพบขึ้นกระจายทุกภาค ที่ระดับความสูงได้ถึง 1,300 เมตร ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมิถุนายน-กันยายน
- พบกระจายในเขตร้อนทั่วไป ประเทศไทยพบขึ้นกระจายทุกภาค ที่ระดับความสูงได้ถึง 1,300 เมตร ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมิถุนายน-กันยายน
- พบกระจายในเขตร้อนทั่วไป ประเทศไทยพบขึ้นกระจายทุกภาค ที่ระดับความสูงได้ถึง 1,300 เมตร ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมิถุนายน-กันยายน
- พบกระจายในเขตร้อนทั่วไป ประเทศไทยพบขึ้นกระจายทุกภาค ที่ระดับความสูงได้ถึง 1,300 เมตร ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมิถุนายน-กันยายน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- พบขึ้นทั่วไปในทุกภาคของประเทศไทย ในสภาพดินเหนียว ดินทราย และดินลูกรัง ในสวนป่า ที่สาธารณะ และตามข้างถนน เช่นพบที่จังหวัดสระบุรี จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดขอนแก่น จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดเชียงราย และจังหวัดพังงา
- ยโสธร,อำนาจเจริญ,อุบลราชธานี
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- เป็นพืชล้มลุกทอดเลื้อยไปตามพื้นดิน ลำต้นมีขนสั้นๆละเอียดปกคลุมหนาแน่น ลำต้นมีขนสั้นๆละเอียดปกคลุมหนาแน่น ใบประกอบแบบขนนกมีใบย่อย 3 ใบ (trifoliate) ใบคล้ายรูปหัวใจกลับ ปลายใบเว้าตื้น หน้าใบไม่มีขน หลังใบไม่มีขน หลังใบมีขนน้อยถึงน้อยมาก ลำต้นมีขนสั้นๆปกคลุมหนาแน่น ขอบใบเรียบ (entire) ออกดอกที่ปลายยอดและตามซอกใบ กลีบดอกสีม่วงสดหรือสีม่วงบานเย็น มีดอกย่อย 2-6 ดอก ฝักคอดเป็นข้อๆ 1-6 ข้อ ออกดอกติดเมล็ดตลอดทั้งปี
ถิ่นกำเนิด :
- ไทย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- สระบุรี, นครราชสีมา, บุรีรัมย์, อุบลราชธานี, ขอนแก่น, พิษณุโลก, เชียงราย, พังงา
- พื้นที่ลุ่มน้ำลำเซบาย