ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้นขนาดเล็ก ผลัดใบ สูง 5-15 ม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานหรือรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ปลายแหลม โคนมนกว้าง มักเว้าเล็กน้อยที่รอยต่อก้านใบ ขอบจักถี่ แผ่นใบด้านบนเกลี้ยงหรือมีขนเล็กน้อยที่เส้นกลางใบ ด้านล่างมีขนนุ่มทั่วไป ดอกมีจำนวนมาก ออกเป็นกระจุกเล็กๆ ตามง่ามใบที่ใบร่วงไปแล้ว ดอกสมบูรณ์เพศ สีขาวหรือเหลืองอมเขียว กลีบเลี้ยงเล็ก ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ 8-10 อัน ผลมีเนื้อ รูปไข่ ผิวเรียบ ผนังหนา สุกสีเหลือง เนื้อหุ้มเมล็ดสีแสด
- ไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้น ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปขอบขนานหรือรูปไข่แกมขอบขนาน ดอกออกเป็นช่อที่ซอกใบกลีบดอกสีขาวหรือเหลืองแกมเขียว ผลค่อนข้างฉ่ำน้ำ มี 3 พู รูปกระสวย สีเหลืองเมื่อสุก เมล็ดมีเยื่อหุ้มสีส้มแดง
- ไม้ต้นขนาดเล็ก ผลัดใบ สูง 5-15 ม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานหรือรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ปลายแหลม โคนมนกว้าง มักเว้าเล็กน้อยที่รอยต่อก้านใบ ขอบจักถี่ แผ่นใบด้านบนเกลี้ยงหรือมีขนเล็กน้อยที่เส้นกลางใบ ด้านล่างมีขนนุ่มทั่วไป ดอกมีจำนวนมาก ออกเป็นกระจุกเล็กๆ ตามง่ามใบที่ใบร่วงไปแล้ว ดอกสมบูรณ์เพศ สีขาวหรือเหลืองอมเขียว กลีบเลี้ยงเล็ก ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ 8-10 อัน ผลมีเนื้อ รูปไข่ ผิวเรียบ ผนังหนา สุกสีเหลือง เนื้อหุ้มเมล็ดสีแสด
- ไม้ต้นขนาดเล็ก ผลัดใบ สูง 5-15 ม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานหรือรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ปลายแหลม โคนมนกว้าง มักเว้าเล็กน้อยที่รอยต่อก้านใบ ขอบจักถี่ แผ่นใบด้านบนเกลี้ยงหรือมีขนเล็กน้อยที่เส้นกลางใบ ด้านล่างมีขนนุ่มทั่วไป ดอกมีจำนวนมาก ออกเป็นกระจุกเล็กๆ ตามง่ามใบที่ใบร่วงไปแล้ว ดอกสมบูรณ์เพศ สีขาวหรือเหลืองอมเขียว กลีบเลี้ยงเล็ก ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ 8-10 อัน ผลมีเนื้อ รูปไข่ ผิวเรียบ ผนังหนา สุกสีเหลือง เนื้อหุ้มเมล็ดสีแสด
- ไม้ต้นขนาดเล็ก ผลัดใบ สูง 5-15 ม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานหรือรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ปลายแหลม โคนมนกว้าง มักเว้าเล็กน้อยที่รอยต่อก้านใบ ขอบจักถี่ แผ่นใบด้านบนเกลี้ยงหรือมีขนเล็กน้อยที่เส้นกลางใบ ด้านล่างมีขนนุ่มทั่วไป ดอกมีจำนวนมาก ออกเป็นกระจุกเล็กๆ ตามง่ามใบที่ใบร่วงไปแล้ว ดอกสมบูรณ์เพศ สีขาวหรือเหลืองอมเขียว กลีบเลี้ยงเล็ก ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ 8-10 อัน ผลมีเนื้อ รูปไข่ ผิวเรียบ ผนังหนา สุกสีเหลือง เนื้อหุ้มเมล็ดสีแสด
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ กลีบเลี้ยง และรังไข่ ใบเรียงสลับระนาบเดียว รูปขอบขนานหรือแกมรูปไข่ ยาว 8-16 ซม. โคนเบี้ยว ขอบจักซี่ฟัน ก้านใบยาว 0.6-1.2 ซม. ดอกสีเขียว ออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกระจุกตามซอกใบ ใบประดับขนาดเล็กมีหลายใบ ก้านดอกยาว 5-8 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม ยาว 2-3 มม. ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ 8-10 อัน ติดบนขอบจานฐานดอกรูปถ้วย ขอบจักเป็นพู รังไข่มีช่องเดียว พลาเซนตาตามแนวตะเข็บ 2-4 แนว ก้านเกสรเพศเมียสั้น ผลแห้งแตก รูปรี ยาว 2.5-3.5 ซม. มี 3 ซีก เมล็ดมีเยื่อหุ้มสีส้มแดง จักชายครุย
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ กลีบเลี้ยง และรังไข่ ใบเรียงสลับระนาบเดียว รูปขอบขนานหรือแกมรูปไข่ ยาว 8-16 ซม. โคนเบี้ยว ขอบจักซี่ฟัน ก้านใบยาว 0.6-1.2 ซม. ดอกสีเขียว ออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกระจุกตามซอกใบ ใบประดับขนาดเล็กมีหลายใบ ก้านดอกยาว 5-8 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม ยาว 2-3 มม. ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ 8-10 อัน ติดบนขอบจานฐานดอกรูปถ้วย ขอบจักเป็นพู รังไข่มีช่องเดียว พลาเซนตาตามแนวตะเข็บ 2-4 แนว ก้านเกสรเพศเมียสั้น ผลแห้งแตก รูปรี ยาว 2.5-3.5 ซม. มี 3 ซีก เมล็ดมีเยื่อหุ้มสีส้มแดง จักชายครุย
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ กลีบเลี้ยง และรังไข่ ใบเรียงสลับระนาบเดียว รูปขอบขนานหรือแกมรูปไข่ ยาว 8–16 ซม. โคนเบี้ยว ขอบจักซี่ฟัน ก้านใบยาว 0.6–1.2 ซม. ดอกสีเขียว ออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกระจุกตามซอกใบ ใบประดับขนาดเล็กมีหลายใบ ก้านดอกยาว 5–8 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม ยาว 2–3 มม. ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ 8–10 อัน ติดบนขอบจานฐานดอกรูปถ้วย ขอบจักเป็นพู รังไข่มีช่องเดียว พลาเซนตาตามแนวตะเข็บ 2–4 แนว ก้านเกสรเพศเมียสั้น ผลแห้งแตก รูปรี ยาว 2.5–3.5 ซม. มี 3 ซีก เมล็ดมีเยื่อหุ้มสีส้มแดง จักชายครุย
การกระจายพันธุ์ :
- พม่า คาบสมุทรอินโดจีน มาเลเซีย ในประเทศไทยพบที่่จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน พิษณุโลก นครสวรรค์ เลย ขอนแก่น อุบลราชธานี กรุงเทพมหานคร กาญจนบุรี ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ์ จันทบุรี และชุมพร พบตามป่าเต็งรังที่ถูกรบกวน บนดินเหนียวหรือบนหินปูน ระดับความสูง 0-1000 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล
- พบขึ้นกระจายทั่วไปตามป่าละเมาะ ป่าเบญจพรรณ
- พม่า คาบสมุทรอินโดจีน มาเลเซีย ในประเทศไทยพบที่่จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน พิษณุโลก นครสวรรค์ เลย ขอนแก่น อุบลราชธานี กรุงเทพมหานคร กาญจนบุรี ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ์ จันทบุรี และชุมพร พบตามป่าเต็งรังที่ถูกรบกวน บนดินเหนียวหรือบนหินปูน ระดับความสูง 0-1000 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล
- พม่า คาบสมุทรอินโดจีน มาเลเซีย ในประเทศไทยพบที่่จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน พิษณุโลก นครสวรรค์ เลย ขอนแก่น อุบลราชธานี กรุงเทพมหานคร กาญจนบุรี ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ์ จันทบุรี และชุมพร พบตามป่าเต็งรังที่ถูกรบกวน บนดินเหนียวหรือบนหินปูน ระดับความสูง 0-1000 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล
- พม่า คาบสมุทรอินโดจีน มาเลเซีย ในประเทศไทยพบที่่จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน พิษณุโลก นครสวรรค์ เลย ขอนแก่น อุบลราชธานี กรุงเทพมหานคร กาญจนบุรี ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ์ จันทบุรี และชุมพร พบตามป่าเต็งรังที่ถูกรบกวน บนดินเหนียวหรือบนหินปูน ระดับความสูง 0-1000 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุตรดิตถ์,แพร่
- พะเยา,น่าน
- พิษณุโลก
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- กำแพงเพชร
- พะเยา
- ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
- เลย
- เลย
- พะเยา, เชียงราย
- ลำปาง, ตาก
- สุโขทัย
- สุโขทัย
- กำแพงเพชร
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- สุราษฎร์ธานี, ระนอง
- พะเยา, น่าน
- พะเยา, น่าน
- แพร่
- แพร่
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- เลย
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- ตาก
- ตาก
- ตาก
- ราชบุรี
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- พะเยา
- พะเยา
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- ตาก
- ตาก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
- อำเภอเชียงคำ อำเภอปง พะเยา, อำเภอสองแคว น่าน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
- อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
- อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
- อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
- อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
- อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
- อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
- อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
- อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
- อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
- อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
- อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
- อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
- อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
- อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้น
- ไม้ต้น
ระบบนิเวศ :
- พบในป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณและป่าดิบทั่วทุกภาค ความสูงจากระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ 1,200 เมตร
- พบในป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณและป่าดิบทั่วทุกภาค ความสูงจากระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ 1,200 เมตร
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- สมุนไพร,ที่อยู่อาศัย,เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย,เฟอร์นิเจอร์
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2018)
ที่มาของข้อมูล