ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้นขนาดกลางสูง 5-15 เมตร เปลือกสีน้ำตาลแตกเป็นสะเก็ดเล็กๆ ใบ เป็นใบเดี่ยวเรียงสลับกันรูปมนหรือขอบขนาน กว้าง 3-5.5 ซม.ยาว 8-14 ซม.โคนสอบทู่ๆ ปลายหยักเป็นติ่งแหลมสั้น หลังใบมีขนนุ่ม ดอก ออกเป็นช่อ ดอกเพศผู้และดอกเพศเมียอยู่ต่างต้นกัน ดอกเพศผู้อยู่รวมกันเป็นช่อเล็กๆตามง่ามใบ ช่อหนึ่งมีหลายดอก ทั้งกลีบดอก และกลีบรองกลีบดอก มีอย่างละ 4-5 กลีบ ก้านดอกมีขนนุ่ม กลีบรองกลีบดอกยาว 4-6 มม. โคนกลีบเป็นรูปถ้วยปากกว้าง มีขนยาวๆ เป็นเส้นไหม กลีบดอกยาว 6-8 มม. โคนกลีบเชื่อมติดกันเป็นรูปเหยือกน้ำ เกสรตัวผู้มี 14-30 อัน ดอกเพศเมียออกเป็นดอกเดี่ยวๆ ตามง่ามใบ ลักษณะคล้ายดอกเพศผู้แต่ขนาดใหญ่กว่า ผล กลมหรือค่อนข้างกลมแป้น โต วัดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.5-4 ซม. สูง 2.5-3.5 ซม.ผลแก่มีขนเป็นกระจุกแน่นตามบริเวณกลีบขั้วและปลายผล กลีบขั้วเหยียดแผ่ ขอบกลีบเป็นคลื่นบ้างเล็กน้อย ผลแก่เป็นสีดำ
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน ก้านใบ ช่อดอก กลีบเลี้ยง และก้านดอก ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 8–14 ซม. แผ่นใบด้านล่างมีขนสาก เส้นแขนงใบข้างละ 4–7 เส้น ก้านใบยาวประมาณ 1 ซม. ช่อดอกเพศผู้เป็นช่อกระจุกสั้น ๆ ก้านดอกสั้น กลีบเลี้ยง 4–5 กลีบ แยกจรดโคน ยาว 4–6 มม. มีขนครุย ดอกรูปคนโท ยาว 6–8 มม. มี 4 กลีบ โคนเชื่อมติดกัน เส้นกลางกลีบมีขน เกสรเพศผู้ 14–30 อัน เส้นกลางอับเรณูมีขนคล้ายไหม เป็นหมันในดอกเพศเมีย ดอกเพศเมียก้านดอกยาว 2–5 มม. รังไข่มี 8 ช่อง มีขนสั้นนุ่ม ผลรูปกลม ๆ เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5–4 ซม. สุกสีแดง มีขนคล้ายไหม กลีบเลี้ยงแฉกลึกจรดโคน ขอบเป็นคลื่น มีขนสั้นนุ่มทั้งสองด้าน ไม่พับงอกลับ เอนโดสเปิร์มเรียบ (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ มะเกลือ, สกุล)
- ไม้ต้นขนาดเล็ก
- ไม้ต้นขนาดกลางสูง 5-15 เมตร เปลือกสีน้ำตาลแตกเป็นสะเก็ดเล็กๆ ใบ เป็นใบเดี่ยวเรียงสลับกันรูปมนหรือขอบขนาน กว้าง 3-5.5 ซม.ยาว 8-14 ซม.โคนสอบทู่ๆ ปลายหยักเป็นติ่งแหลมสั้น หลังใบมีขนนุ่ม ดอก ออกเป็นช่อ ดอกเพศผู้และดอกเพศเมียอยู่ต่างต้นกัน ดอกเพศผู้อยู่รวมกันเป็นช่อเล็กๆตามง่ามใบ ช่อหนึ่งมีหลายดอก ทั้งกลีบดอก และกลีบรองกลีบดอก มีอย่างละ 4-5 กลีบ ก้านดอกมีขนนุ่ม กลีบรองกลีบดอกยาว 4-6 มม. โคนกลีบเป็นรูปถ้วยปากกว้าง มีขนยาวๆ เป็นเส้นไหม กลีบดอกยาว 6-8 มม. โคนกลีบเชื่อมติดกันเป็นรูปเหยือกน้ำ เกสรตัวผู้มี 14-30 อัน ดอกเพศเมียออกเป็นดอกเดี่ยวๆ ตามง่ามใบ ลักษณะคล้ายดอกเพศผู้แต่ขนาดใหญ่กว่า ผล กลมหรือค่อนข้างกลมแป้น โต วัดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.5-4 ซม. สูง 2.5-3.5 ซม.ผลแก่มีขนเป็นกระจุกแน่นตามบริเวณกลีบขั้วและปลายผล กลีบขั้วเหยียดแผ่ ขอบกลีบเป็นคลื่นบ้างเล็กน้อย ผลแก่เป็นสีดำ
- ไม้ต้นขนาดกลางสูง 5-15 เมตร เปลือกสีน้ำตาลแตกเป็นสะเก็ดเล็กๆ ใบ เป็นใบเดี่ยวเรียงสลับกันรูปมนหรือขอบขนาน กว้าง 3-5.5 ซม.ยาว 8-14 ซม.โคนสอบทู่ๆ ปลายหยักเป็นติ่งแหลมสั้น หลังใบมีขนนุ่ม ดอก ออกเป็นช่อ ดอกเพศผู้และดอกเพศเมียอยู่ต่างต้นกัน ดอกเพศผู้อยู่รวมกันเป็นช่อเล็กๆตามง่ามใบ ช่อหนึ่งมีหลายดอก ทั้งกลีบดอก และกลีบรองกลีบดอก มีอย่างละ 4-5 กลีบ ก้านดอกมีขนนุ่ม กลีบรองกลีบดอกยาว 4-6 มม. โคนกลีบเป็นรูปถ้วยปากกว้าง มีขนยาวๆ เป็นเส้นไหม กลีบดอกยาว 6-8 มม. โคนกลีบเชื่อมติดกันเป็นรูปเหยือกน้ำ เกสรตัวผู้มี 14-30 อัน ดอกเพศเมียออกเป็นดอกเดี่ยวๆ ตามง่ามใบ ลักษณะคล้ายดอกเพศผู้แต่ขนาดใหญ่กว่า ผล กลมหรือค่อนข้างกลมแป้น โต วัดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.5-4 ซม. สูง 2.5-3.5 ซม.ผลแก่มีขนเป็นกระจุกแน่นตามบริเวณกลีบขั้วและปลายผล กลีบขั้วเหยียดแผ่ ขอบกลีบเป็นคลื่นบ้างเล็กน้อย ผลแก่เป็นสีดำ
- ไม้ต้นขนาดกลางสูง 5-15 เมตร เปลือกสีน้ำตาลแตกเป็นสะเก็ดเล็กๆ ใบ เป็นใบเดี่ยวเรียงสลับกันรูปมนหรือขอบขนาน กว้าง 3-5.5 ซม.ยาว 8-14 ซม.โคนสอบทู่ๆ ปลายหยักเป็นติ่งแหลมสั้น หลังใบมีขนนุ่ม ดอก ออกเป็นช่อ ดอกเพศผู้และดอกเพศเมียอยู่ต่างต้นกัน ดอกเพศผู้อยู่รวมกันเป็นช่อเล็กๆตามง่ามใบ ช่อหนึ่งมีหลายดอก ทั้งกลีบดอก และกลีบรองกลีบดอก มีอย่างละ 4-5 กลีบ ก้านดอกมีขนนุ่ม กลีบรองกลีบดอกยาว 4-6 มม. โคนกลีบเป็นรูปถ้วยปากกว้าง มีขนยาวๆ เป็นเส้นไหม กลีบดอกยาว 6-8 มม. โคนกลีบเชื่อมติดกันเป็นรูปเหยือกน้ำ เกสรตัวผู้มี 14-30 อัน ดอกเพศเมียออกเป็นดอกเดี่ยวๆ ตามง่ามใบ ลักษณะคล้ายดอกเพศผู้แต่ขนาดใหญ่กว่า ผล กลมหรือค่อนข้างกลมแป้น โต วัดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.5-4 ซม. สูง 2.5-3.5 ซม.ผลแก่มีขนเป็นกระจุกแน่นตามบริเวณกลีบขั้วและปลายผล กลีบขั้วเหยียดแผ่ ขอบกลีบเป็นคลื่นบ้างเล็กน้อย ผลแก่เป็นสีดำ
การกระจายพันธุ์ :
- พบขึ้นตามป่าดิบเขา และป่าทุ่งหญ้า ในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 750-1,500 เมตร
- พบขึ้นตามป่าดิบเขา และป่าทุ่งหญ้า ในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 750-1,500 เมตร
- พบขึ้นตามป่าดิบเขา และป่าทุ่งหญ้า ในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 750-1,500 เมตร
- พบขึ้นตามป่าดิบเขา และป่าทุ่งหญ้า ในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 750-1,500 เมตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- แพร่,น่าน
- เชียงใหม่
- จันทบุรี
- แม่ฮ่องสอน
- เลย
- ตาก
- เชียงใหม่
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- พะเยา, น่าน
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ตาก
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- ตาก
- ตาก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
- อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
- อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน ก้านใบ ช่อดอก กลีบเลี้ยง และ ก้านดอก ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 8-14 ซม. แผ่นใบด้านล่างมีขนสาก เส้นแขนงใบข้างละ 4-7 เส้น ก้านใบยาวประมาณ 1 ซม. ช่อดอกเพศผู้เป็นช่อ กระจุกสั้น ๆ ก้านดอกสั้น กลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ แยกจรดโคน ยาว 4-6 มม. มีขนครุย ดอกรูปคนโท ยาว 6-8 มม. มี 4 กลีบ โคนเชื่อมติดกัน เส้นกลางกลีบมีขน เกสรเพศผู้ 14-30 อัน เส้นกลางอับเรณูมีขนคล้ายไหม เป็นหมันในดอกเพศเมีย ดอกเพศเมียก้านดอกยาว 2-5 มม. รังไข่มี 8 ช่อง มีขนสั้นนุ่ม ผลรูปกลม ๆ เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-4 ซม. สุกสีแดง มีขนคล้ายไหม กลีบเลี้ยงแฉกลึกจรดโคน ขอบเป็นคลื่น มีขนสั้นนุ่มทั้งสองด้าน ไม่พับงอกลับ เอนโดสเปิร์มเรียบ (ดูข้อมูล เพิ่มเติมที่ มะเกลือ, สกุล)พบที่อินเดีย พม่าและภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบกระจายทั่วไปทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ขึ้นตามชายป่าดิบเขา ความสูง 700-1700 เมตร นิยมใช้เป็นต้นตอในการทาบกิ่งมะพลับ D. kaki L. f.
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน ก้านใบ ช่อดอก กลีบเลี้ยง และ ก้านดอก ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 8-14 ซม. แผ่นใบด้านล่างมีขนสาก เส้นแขนงใบข้างละ 4-7 เส้น ก้านใบยาวประมาณ 1 ซม. ช่อดอกเพศผู้เป็นช่อ กระจุกสั้น ๆ ก้านดอกสั้น กลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ แยกจรดโคน ยาว 4-6 มม. มีขนครุย ดอกรูปคนโท ยาว 6-8 มม. มี 4 กลีบ โคนเชื่อมติดกัน เส้นกลางกลีบมีขน เกสรเพศผู้ 14-30 อัน เส้นกลางอับเรณูมีขนคล้ายไหม เป็นหมันในดอกเพศเมีย ดอกเพศเมียก้านดอกยาว 2-5 มม. รังไข่มี 8 ช่อง มีขนสั้นนุ่ม ผลรูปกลม ๆ เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-4 ซม. สุกสีแดง มีขนคล้ายไหม กลีบเลี้ยงแฉกลึกจรดโคน ขอบเป็นคลื่น มีขนสั้นนุ่มทั้งสองด้าน ไม่พับงอกลับ เอนโดสเปิร์มเรียบ (ดูข้อมูล เพิ่มเติมที่ มะเกลือ, สกุล)พบที่อินเดีย พม่าและภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบกระจายทั่วไปทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ขึ้นตามชายป่าดิบเขา ความสูง 700-1700 เมตร นิยมใช้เป็นต้นตอในการทาบกิ่งมะพลับ D. kaki L. f.
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน ก้านใบ ช่อดอก กลีบเลี้ยง และ ก้านดอก ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 8-14 ซม. แผ่นใบด้านล่างมีขนสาก เส้นแขนงใบข้างละ 4-7 เส้น ก้านใบยาวประมาณ 1 ซม. ช่อดอกเพศผู้เป็นช่อ กระจุกสั้น ๆ ก้านดอกสั้น กลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ แยกจรดโคน ยาว 4-6 มม. มีขนครุย ดอกรูปคนโท ยาว 6-8 มม. มี 4 กลีบ โคนเชื่อมติดกัน เส้นกลางกลีบมีขน เกสรเพศผู้ 14-30 อัน เส้นกลางอับเรณูมีขนคล้ายไหม เป็นหมันในดอกเพศเมีย ดอกเพศเมียก้านดอกยาว 2-5 มม. รังไข่มี 8 ช่อง มีขนสั้นนุ่ม ผลรูปกลม ๆ เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-4 ซม. สุกสีแดง มีขนคล้ายไหม กลีบเลี้ยงแฉกลึกจรดโคน ขอบเป็นคลื่น มีขนสั้นนุ่มทั้งสองด้าน ไม่พับงอกลับ เอนโดสเปิร์มเรียบ (ดูข้อมูล เพิ่มเติมที่ มะเกลือ, สกุล)พบที่อินเดีย พม่าและภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบกระจายทั่วไปทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ขึ้นตามชายป่าดิบเขา ความสูง 700-1700 เมตร นิยมใช้เป็นต้นตอในการทาบกิ่งมะพลับ D. kaki L. f.
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน ก้านใบ ช่อดอก กลีบเลี้ยง และ ก้านดอก ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 8-14 ซม. แผ่นใบด้านล่างมีขนสาก เส้นแขนงใบข้างละ 4-7 เส้น ก้านใบยาวประมาณ 1 ซม. ช่อดอกเพศผู้เป็นช่อ กระจุกสั้น ๆ ก้านดอกสั้น กลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ แยกจรดโคน ยาว 4-6 มม. มีขนครุย ดอกรูปคนโท ยาว 6-8 มม. มี 4 กลีบ โคนเชื่อมติดกัน เส้นกลางกลีบมีขน เกสรเพศผู้ 14-30 อัน เส้นกลางอับเรณูมีขนคล้ายไหม เป็นหมันในดอกเพศเมีย ดอกเพศเมียก้านดอกยาว 2-5 มม. รังไข่มี 8 ช่อง มีขนสั้นนุ่ม ผลรูปกลม ๆ เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-4 ซม. สุกสีแดง มีขนคล้ายไหม กลีบเลี้ยงแฉกลึกจรดโคน ขอบเป็นคลื่น มีขนสั้นนุ่มทั้งสองด้าน ไม่พับงอกลับ เอนโดสเปิร์มเรียบ (ดูข้อมูล เพิ่มเติมที่ มะเกลือ, สกุล)พบที่อินเดีย พม่าและภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบกระจายทั่วไปทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ขึ้นตามชายป่าดิบเขา ความสูง 700-1700 เมตร นิยมใช้เป็นต้นตอในการทาบกิ่งมะพลับ D. kaki L. f.
การขยายพันธุ์ :
- 1. การเพาะเมล็ด
2. ติดตา
3. การต่อกิ่ง
- 1. การเพาะเมล็ด
2. ติดตา
3. การต่อกิ่ง
- 1. การเพาะเมล็ด
2. ติดตา
3. การต่อกิ่ง
- 1. การเพาะเมล็ด
2. ติดตา
3. การต่อกิ่ง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- ผลสุกกินได้ เนื้อไม้แข็ง มัน หนักมีลาย สวย ชักเงาได้ดี นิยมใช้ทำด้ามปืน
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ