ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม-เขตห้ามล่าสัตว์ป่าหมู่เกาะลิบง–ปากน้ำตรัง
-
หมู่เกาะอ่างทอง
-
ภูผาเทิบ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาวงจันแดง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาลำปี-หาดท้ายเหมือง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาสามร้อยยอด
-
อุทยานแห่งชาติ เขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก (Small tree)
-
ไม้พุ่ม มักพบหนามแหลมตามกิ่งก้านทั่วไป ใบ ประกอบแบบนิ้วมือ เรียงสลับ มีใบย่อย 1 ใบ ใบรูปไข่หรือรูปรี ปลายใบหยักเว้าตื้น หรือแยกเป็น 2 พู ก้านใบสั้น ใบหนาและเหนียวสีเขียว มีต่อมน้ำมันใสอยู่ทั่วไป ดอก ออกเป็นช่อกระจุกหรือเป็นช่อสั้นๆ ที่ซอกใบ กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 3-5 แฉก กลีบดอก 4 กลีบ สีขาว กลิ่นหอม เกสรเพศผู้ 8 อัน ก้านเกสรเชื่อมกันเป็นหลอด เกสรเพศเมีย รังไข่เหนือวงกลีบตั้งอยู่บนจานฐานดอก ผล สด รูปกลม 1.0-2.5 ซม. เปลอกหนา
ระยะเวลาออกดอก เดือนติดผลประมาณเดือน มกราคม-พฤษภาคม มีการกระจายพันธุ์อยู่ในประเทศ อินเดีย ศรีลังกา พม่าไทย ลาว กัมพูชา เวียตนาม มาเลเซีย ในประเทศไทย พบที่ เชียงใหม่ ขอนแก่น ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี ชลบุรี
ระยะเวลาออกดอก เดือนติดผลประมาณเดือน มกราคม-พฤษภาคม มีการกระจายพันธุ์อยู่ในประเทศ อินเดีย ศรีลังกา พม่าไทย ลาว กัมพูชา เวียตนาม มาเลเซีย ในประเทศไทย พบที่ เชียงใหม่ ขอนแก่น ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี ชลบุรี
-
ไม้พุ่ม มักพบหนามแหลมตามกิ่งก้านทั่วไป ใบ ประกอบแบบนิ้วมือ เรียงสลับ มีใบย่อย 1 ใบ ใบรูปไข่หรือรูปรี ปลายใบหยักเว้าตื้น หรือแยกเป็น 2 พู ก้านใบสั้น ใบหนาและเหนียวสีเขียว มีต่อมน้ำมันใสอยู่ทั่วไป ดอก ออกเป็นช่อกระจุกหรือเป็นช่อสั้นๆ ที่ซอกใบ กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 3-5 แฉก กลีบดอก 4 กลีบ สีขาว กลิ่นหอม เกสรเพศผู้ 8 อัน ก้านเกสรเชื่อมกันเป็นหลอด เกสรเพศเมีย รังไข่เหนือวงกลีบตั้งอยู่บนจานฐานดอก ผล สด รูปกลม 1.0-2.5 ซม. เปลอกหนา
ระยะเวลาออกดอก เดือนติดผลประมาณเดือน มกราคม-พฤษภาคม มีการกระจายพันธุ์อยู่ในประเทศ อินเดีย ศรีลังกา พม่าไทย ลาว กัมพูชา เวียตนาม มาเลเซีย ในประเทศไทย พบที่ เชียงใหม่ ขอนแก่น ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี ชลบุรี
ระยะเวลาออกดอก เดือนติดผลประมาณเดือน มกราคม-พฤษภาคม มีการกระจายพันธุ์อยู่ในประเทศ อินเดีย ศรีลังกา พม่าไทย ลาว กัมพูชา เวียตนาม มาเลเซีย ในประเทศไทย พบที่ เชียงใหม่ ขอนแก่น ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี ชลบุรี
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สุราษฏร์ธานี
-
มุกดาหาร
-
สระบุรี
-
นครราชสีมา
-
ระยอง, จันทบุรี
-
ระยอง, จันทบุรี
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
พังงา
-
ประจวบคีรีขันธ์
-
ระยอง
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
เลย
-
เลย
-
จันทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ราชบุรี
-
กาญจนบุรี
-
ลำปาง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มถึงไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 2-6 ม. เรือนยอดเป็นพุ่มกลม ทึบ กิ่งอ่อนมักเป็นเหลี่ยม และมีหนามเรียวตรง 1 อัน ยาวประมาณ 1 ซม. ออกข้างง่ามใบ เมื่ออายุมากขึ้นกิ่งมักมนกลมและหนามมีจำนวนลดน้อยลง ลำต้นคดงอและเป็นพูพอนตื้นๆ เปลือกเรียบถึงแตกเป็นร่องตื้นตามยาว สีเทาอมน้ำตาลถึงน้ำตาลคล้ำ
ใบ ประกอบแบบมีหนึ่งใบย่อยแต่ลดรูปคล้ายใบเดี่ยว เรียงสลับถึงเวียนสลับห่างๆ แผ่นใบรูปไข่หรือรูปรี ขนาด 2-5x5-12 ซม. โคนใบแหลมถึงสอบเป็นรูปลิ่ม ขอบใบเรียบ ปลายใบสอบและเว้าตื้น เส้นใบแบบร่างแหขนนก เส้นกลางใบยกตัว เส้นแขนง 8-10 คู่ เส้นใบย่อยสานกันเป็นร่างแห และมักพุ่งตรงหาเส้นกลางใบคล้ายสายน้ำ มองเห็นชัดเจน ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน หรือมีขนบนเส้นกลางใบ มีต่อมน้ำมันใสกระจายทั่วแผ่นใบ ขยี้แล้วมีกลิ่นหอมเฉพาะตัว เนื้อใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ด้านบนสีเขียวคล้ำ ด้านล่างสีซีดกว่า ก้านใบยาวประมาณ 1 ซม. มีข้อต่อกับแผ่นใบ
ดอก แบบช่อเชิงลดมีก้าน ช่อเชิงลดรูปพัดแยกแขนงหรือช่อกระจุก ออกตามง่ามใบ ช่อดอกยาวถึง 5 ซม. ประกอบด้วยดอกย่อยหลายดอก สีขาว กลิ่นหอม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5 ซม. กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 2 แฉก ขนาดไม่เท่ากัน กลีบดอก 4 กลีบ แยกกันเป็นอิสระ รูปขอบขนานแกมรูปรี ปลายทู่ เรียงซ้อนเหลื่อมกัน เกสรเพศผู้ 8 อัน โคนเชื่อมติดกันเป็นหลอด ก้านเกสรสั้น อับเรณูสีเหลือง รังไข่อยู่เหนือวงกลีบ มี 4 พู แต่ละพูมีไข่อ่อน 1-2 เมล็ด จานฐานดอกรูปวงแหวนลักษณะคล้ายหมอน นูนเด่น ออกดอกระหว่างเดือน พฤศจิกายน-ธันวาคม
ผล แบบผลมีเนื้อหลายเมล็ดแบบผลส้ม รูปทรงกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2.5 ซม. ผิวขรุขระ สีเขียวอมเหลือง เนื้อผลเป็นกลีบคล้ายส้ม 4-8 เมล็ด ออกผลระหว่างเดือน เมษายน-พฤษภาคม
ใบ ประกอบแบบมีหนึ่งใบย่อยแต่ลดรูปคล้ายใบเดี่ยว เรียงสลับถึงเวียนสลับห่างๆ แผ่นใบรูปไข่หรือรูปรี ขนาด 2-5x5-12 ซม. โคนใบแหลมถึงสอบเป็นรูปลิ่ม ขอบใบเรียบ ปลายใบสอบและเว้าตื้น เส้นใบแบบร่างแหขนนก เส้นกลางใบยกตัว เส้นแขนง 8-10 คู่ เส้นใบย่อยสานกันเป็นร่างแห และมักพุ่งตรงหาเส้นกลางใบคล้ายสายน้ำ มองเห็นชัดเจน ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน หรือมีขนบนเส้นกลางใบ มีต่อมน้ำมันใสกระจายทั่วแผ่นใบ ขยี้แล้วมีกลิ่นหอมเฉพาะตัว เนื้อใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ด้านบนสีเขียวคล้ำ ด้านล่างสีซีดกว่า ก้านใบยาวประมาณ 1 ซม. มีข้อต่อกับแผ่นใบ
ดอก แบบช่อเชิงลดมีก้าน ช่อเชิงลดรูปพัดแยกแขนงหรือช่อกระจุก ออกตามง่ามใบ ช่อดอกยาวถึง 5 ซม. ประกอบด้วยดอกย่อยหลายดอก สีขาว กลิ่นหอม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5 ซม. กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 2 แฉก ขนาดไม่เท่ากัน กลีบดอก 4 กลีบ แยกกันเป็นอิสระ รูปขอบขนานแกมรูปรี ปลายทู่ เรียงซ้อนเหลื่อมกัน เกสรเพศผู้ 8 อัน โคนเชื่อมติดกันเป็นหลอด ก้านเกสรสั้น อับเรณูสีเหลือง รังไข่อยู่เหนือวงกลีบ มี 4 พู แต่ละพูมีไข่อ่อน 1-2 เมล็ด จานฐานดอกรูปวงแหวนลักษณะคล้ายหมอน นูนเด่น ออกดอกระหว่างเดือน พฤศจิกายน-ธันวาคม
ผล แบบผลมีเนื้อหลายเมล็ดแบบผลส้ม รูปทรงกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2.5 ซม. ผิวขรุขระ สีเขียวอมเหลือง เนื้อผลเป็นกลีบคล้ายส้ม 4-8 เมล็ด ออกผลระหว่างเดือน เมษายน-พฤษภาคม
การกระจายพันธุ์ :
-
ประเทศอินเดีย ศรีลังกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และตอนใต้ของจีน
การขยายพันธุ์ :
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การปักชำ
2. การปักชำ
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การปักชำ
2. การปักชำ
ที่มาของข้อมูล
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 6 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกาะ, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
พันธุ์ไม้ป่าชายเลน, กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2563
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |