ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูงถึง ๑๐ ม. ใบประกอบแบบขนนก ๒ ชั้น ขนาดใหญ่ ออกหนาแน่นที่ปลายยอด ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอด ดอกย่อยสีม่วงแดง ผลเป็นฝักรูปดาบ ยาว ๔๐ – ๑๒๐ ชม. ออกดอก ช่วงเดือนมิถุนายน – สิงหาคม ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ดหรือ แบ่งราก
- ไม้ต้น สูง 5-20 ม. เปลือกสีเทาอมขาวถึงน้ำตาลอมเทา ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนกสามชั้นปลายคี่เรียงตรงข้าม ขนาดใหญ่มาก กว้างได้ถึง 80 ซม. ยาวได้ถึง 2 ม. ใบย่อยรูปไข่ รูปรี ถึงรูปขอบขนาน กว้าง 3-9 ซม. ยาว 4-16 ซม. ปลายเรียวแหลม โคนมนถึงเว้ารูปหัวใจ เบี้ยว ขอบเรียบหรือเป็นคลื่น แผ่นใบด้านบนสีเขียวเข้ม เกลี้ยงหรือมีขนตามเส้นใบ ด้านล่างสีจางกว่า อาจพบเกล็ดเล็ก ๆ ประปราย เส้นแขนงใบข้างละ 4-6 เส้น ก้านใบย่อยยาว 0.5-1 ซม. ช่อดอก แบบช่อกระแจะ ออกที่ยอดหรือปลายกิ่ง มีก้านช่อยาวยื่นโดดเด่นเหนือเรีอนยอดยาว 0.3-1.5 ม. ดอกบานกลางคืน ก้านดอกยาว 2-7 ซม. กลีบเลี้ยงสีม่วงคล้ำ โคนเชื่อมติดกันคล้ายรูประฆังเบี้ยว กว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 2-5 ซม. ปลายตัดหรือหยัก 5 แฉกเล็ก ๆ กลีบดอกโดนเชื่อมติดกันเป็นหลอดแคบ ยาว 5-10 ซม. บริเวณใกล้ปลายหลอดผายกว้างได้ถึง 3 ซม. ด้านในสีเหลืองหรือสีเหลืองแต้มสีชมพู มีต่อม ด้านนอกสีม่วงหรือสีม่วงอมแดง ปลายหลอดแยก 5 แฉก รูปไข่กลับ กว้าง 3-4.5 ซม. ยาว 4-6 ซม. สีคล้ายสีหลอดแต่จางกว่าเล็กน้อย มีขนและต่อมเกสรเพศผู้ 5 อัน มักเป็นคู่ ยาวไม่เท่ากัน โคนก้านชูอับเรณูมีต่อมและขน อับเรณูยาวประมาณ 1 ซม. จานฐานดอกหยักตื้น 5 หยัก รังไข่เหนือวงกลีบ มี 2 กลีบ แต่ละช่องมีออวุลจำนวนมาก ก้านเกสรเพศเมียยาว 4-6 ซม. สีม่วง ยอดเกสรเพศเมียเป็นตุ่มรี กว้างประมาณ 5 มม. ยาวประมาณ 7 มม. ผล แบบผลแห้งแตก ฝักห้อยลู่ลง รูปขอบขนานหรือรูปใบดาบ กว้าง 7-10 ซม. ยาว 0.3-1.2 ม. แบน ปลายแหลม เปลือกหนา เมล็ด มีจำนวนมาก รูปค่อนข้างกลมหรือรูปขอบขนานแกมรูปรี แบบ มีปีกบางโดยรอบ เมล็ดรวมปีกกว้าง 2.5-4 ซม. ยาว 5-9 ซม.
- ไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูงถึง ๑๐ ม. ใบประกอบแบบขนนก ๒ ชั้น ขนาดใหญ่ ออกหนาแน่นที่ปลายยอด ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอด ดอกย่อยสีม่วงแดง ผลเป็นฝักรูปดาบ ยาว ๔๐ – ๑๒๐ ชม. ออกดอก ช่วงเดือนมิถุนายน – สิงหาคม ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ดหรือ แบ่งราก
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ใบประกอบ 2-4 ชั้น เรียงตรงข้าม ออกหนาแน่นที่ปลายกิ่ง ยาว 60-170 ซม. รวมก้าน ใบย่อยรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 5-13 ซม. ปลายแหลมยาว โคนเบี้ยว ก้านใบยาวประมาณ 1 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ยาวได้ถึง 1.5 ม. ดอกเรียงแน่นที่ปลายช่อ ก้านดอกยาว 2-7 ซม. กลีบเลี้ยงรูประฆัง ยาว 2-4 ซม. ขอบเกือบเรียบ ติดทน ดอกรูปแตร หนา สีม่วงอมน้ำตาลแดง ด้านในสีครีม โคนมีปื้นสีน้ำตาลแดง หลอดกลีบดอกช่วงโคนยาวประมาณ 1.5 ซม. ช่วงกว้างยาว 6-9 ซม. กลีบบน 2 กลีบ กลีบล่าง 3 กลีบ พับงอกลับ เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดประมาณกึ่งกลางหลอดกลีบดอก จุดติดมีขน อับเรณูยาวประมาณ 1 ซม. โคนกางออก จานฐานดอกจัก 5 พู ก้านเกสรเพศเมียยาวกว่าเกสรเพศผู้ ยอดเกสรจัก 2 พูตื้น ๆ ยาวประมาณ 7 มม. ผลแห้งแตกตามรอยประสาน รูปแถบ แบน ยาว 40-120 ซม. เปลือกหนา เมล็ดกลม มีปีกบาง ๆ ยาว 6-7 ซม.
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอนศิลา
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ถ้ำประทุน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเลนคลองม่วงกลวง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ลุ่มน้ำปายฝั่งซ้าย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
- อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
- อุทยานแห่งชาติ เขานัน
- อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
- อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
- อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
- อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
- อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
- อุทยานแห่งชาติ ตะรุเตา
- อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำปลา-น้ำตกผาเสื่อ
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
- อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
- อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
- อุทยานแห่งชาติ นายูง-น้ำโสม
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
- อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
- อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
- อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
- อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
- อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
- อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
- อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
- อุทยานแห่งชาติ ศรีน่าน
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
- อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
- อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
- อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะเภตรา
- อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
- อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
- ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุตรดิตถ์,แพร่
- เชียงราย
- ลำปาง
- อุทัยธานี
- พะเยา, เชียงราย
- พะเยา, เชียงราย
- ระนอง
- แม่ฮ่องสอน
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- เชียงราย
- เพชรบูรณ์
- นครศรีธรรมราช
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- กำแพงเพชร
- ลำพูน, ลำปาง
- พะเยา
- พะเยา
- เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
- สตูล
- ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
- เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
- อุดรธานี, เลย, หนองคาย
- ตาก
- ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- พะเยา, เชียงราย
- เลย
- เชียงราย, พะเยา
- ลำปาง, ตาก
- เชียงใหม่
- ตาก
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- น่าน
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- สุโขทัย
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- ตรัง, สตูล
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- นครศรีธรรมราช
- ชลบุรี
- ชลบุรี
- กระบี่, ตรัง
- กำแพงเพชร
- จันทบุรี
- กระบี่, สุราษฎร์ธานี
- กระบี่, สุราษฎร์ธานี
- สุราษฎร์ธานี
- เชียงใหม่
- บุรีรัมย์
- พะเยา, น่าน
- พะเยา, น่าน
- ลำพูน, ลำปาง
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่
- แพร่
- สุโขทัย, ลำปาง
- สุโขทัย, ลำปาง
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- ชัยภูมิ
- พิษณุโลก
- ชัยภูมิ
- เลย
- พิษณุโลก
- บึงกาฬ
- บึงกาฬ
- เลย, เพชรบูรณ์
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- ตาก
- ตาก
- ตาก
- ราชบุรี
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- เชียงใหม่
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- พะเยา
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- ชุมพร
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- ชุมพร
- ชุมพร
- ตาก
- ตาก
- ตาก
- ลำปาง
- สุราษฎร์ธานี
การกระจายพันธุ์ :
- พืชชนิดนี้มีเขตการกระจายพันธุ์ในเขตร้อนและกึ่งร้อน ในประเทศไทยพบทั่วทุกภาค ขึ้นตามป่าโปร่ง ชายป่าดิบ บนพื้นที่ราบต่ำไปจนถึงพื้นที่สูงเหนือระดับน้ำทะเลประมาณ 900 ม. และเป็นพืชปลูก ในต่างประเทศพบที่สาธารณรัฐประชาชนจีน ภูฎาน อินเดีย เนปาล เมียนมา ภูมิภาคอินโดจีน และภูมิภาคมาเลเซีย
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลาง ลำต้นสูงชะลูด แตกกิ่งก้านน้อย มีรอยแผลที่เกิดจากการหลุดร่วงของใบ ลำต้นและกิ่งก้านมีรูระบายอากาศ ใบประกอบแบบขนนก 2-3 ชั้น ออกตรงข้ามที่ปลายกิ่ง ใบรูปไข่ โคนใบสอบกลมหรือรูปไต ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ดอกกลมยาวคล้ายหลอด ดอกอ่อนสีเขียว เมื่อแก่ด้านนอกจะค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสีม่วงปนแดงหรือน้ำตาลคล้ำ ด้านในสีเหลืองปนน้ำตาล กลีบดอกมีเนื้อแข็งและหนา ขอบกลีบย่นเมื่อบาน ผลเป็นฝักแบนยาวสีเขียวเข้ม รูปฝักดาบ ห้อยระย้าอยู่เหนือเรือนยอดหรือปลายกิ่ง เปลือกฝักหนา เมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีกจากปลายผล เมล็ดแบนสีขาว มีปีกบางกว้างล้อมรอบ
- เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลาง ลำต้นสูงชะลูด แตกกิ่งก้านน้อย มีรอยแผลที่เกิดจากการหลุดร่วงของใบ ลำต้นและกิ่งก้านมีรูระบายอากาศ ใบประกอบแบบขนนก 2-3 ชั้น ออกตรงข้ามที่ปลายกิ่ง ใบรูปไข่ โคนใบสอบกลมหรือรูปไต ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ดอกกลมยาวคล้ายหลอด ดอกอ่อนสีเขียว เมื่อแก่ด้านนอกจะค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสีม่วงปนแดงหรือน้ำตาลคล้ำ ด้านในสีเหลืองปนน้ำตาล กลีบดอกมีเนื้อแข็งและหนา ขอบกลีบย่นเมื่อบาน ผลเป็นฝักแบนยาวสีเขียวเข้ม รูปฝักดาบ ห้อยระย้าอยู่เหนือเรือนยอดหรือปลายกิ่ง เปลือกฝักหนา เมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีกจากปลายผล เมล็ดแบนสีขาว มีปีกบางกว้างล้อมรอบ
- ไม้ต้นขนาดเล็ก
การขยายพันธุ์ :
- 1. เพาะเมล็ด
2. การปักชำราก
- 1. เพาะเมล็ด
2. การปักชำราก
ระบบนิเวศ :
- ขึ้นตามชายป่า ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร หรือพบปลูกตามบ้านเรือน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร,สมุนไพร,ไม้ดอกไม้ประดับ,ฝักใช้ขับลม แก้ร้อนใน กระหายนำ้ ระบายท้อง เมล็ด แก้ไอ เปลือกต้นใช้ขับเสมหะ
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Dry
Dry
Dry
Dry
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
COUNTRY CULTIVAR
gsno plantname ชนิดพันธุ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ เก็บที่จังหวัด
DOATR 00037 เพกา Oroxylum indicum สุโขทัย
DOATR 00044 เพกา Oroxylum indicum แพร่
DOATR 00050 เพกา (ลิ้นฟ้า) Oroxylum indicum น่าน
DOATR 00057 เพกา Oroxylum indicum นครศรีธรรมราช
gsno plantname ชนิดพันธุ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ เก็บที่จังหวัด