ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงถึง ๒๐ ม. ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ใบย่อยรูปรี ขอบใบหยัก ดอกสีขาว กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดยาว ๖ – ๑๐ ซม. ปลายกลีบแผ่บานออกคล้ายปากแตร มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ผลเป็นฝักเรียวยาว บิดเป็นเกลียว เมล็ดรูปสี่เหลี่ยมแบน มีปีกบางใส ออกดอกช่วงเดือนธันวาคม – กุมภาพันธ์ ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. ใบประกอบยาว 12–35 ซม. มีใบย่อย 3–5 คู่ รูปรีหรือรูปไข่กลับ ยาว 5–14 ซม. ขอบใบจักห่าง ๆ โคนเบี้ยว ก้านใบยาว 0.5–1.3 ซม. ช่อดอกยาว 2–3 ซม. ก้านดอกยาว 1.8–4 ซม. กลีบเลี้ยงเป็นกาบ ยาว 4–5 ซม. หลอดกลีบดอกยาว 6–10 ซม. ปลายบานออกรูประฆัง ยาว 5–8 ซม. เกสรเพศผู้ยาว 3–5 ซม. เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันยาวประมาณ 1 ซม. รังไข่ยาวประมาณ 1.5 ซม. ก้านเกสรเพศเมียยาวได้ถึง 12 ซม. ผลรูปแถบ บิดงอ ยาวได้ถึง 85 ซม. เมล็ดรูปสี่เหลี่ยม ยาว 2.2–2.8 ซม. รวมปีกบางใส (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ แคทะเล, สกุล))
- ไม้ต้น ไม้ผลัดใบ ใบประกอบออกเป็นคู่ ใบย่อยบางใบมน รูปไข่กลับ ปลายแหลม โคนใบไม่เท่ากัน ขอบหยัก ใต้ผิวมีต่อมเรียงตามเส้นกลางใบ ดอกช่อแบบติดดอกสลับ กลีบเลี้ยงเป็นรูปกรวย กลีบดอกเป็นหลอด ผลแตกได้ มีเมล็ดบาง ซึ่งมีปีก
- ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงถึง ๒๐ ม. ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ใบย่อยรูปรี ขอบใบหยัก ดอกสีขาว กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดยาว ๖ – ๑๐ ซม. ปลายกลีบแผ่บานออกคล้ายปากแตร มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ผลเป็นฝักเรียวยาว บิดเป็นเกลียว เมล็ดรูปสี่เหลี่ยมแบน มีปีกบางใส ออกดอกช่วงเดือนธันวาคม – กุมภาพันธ์ ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
- ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงถึง ๒๐ ม. ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ใบย่อยรูปรี ขอบใบหยัก ดอกสีขาว กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดยาว ๖ – ๑๐ ซม. ปลายกลีบแผ่บานออกคล้ายปากแตร มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ผลเป็นฝักเรียวยาว บิดเป็นเกลียว เมล็ดรูปสี่เหลี่ยมแบน มีปีกบางใส ออกดอกช่วงเดือนธันวาคม – กุมภาพันธ์ ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
- ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงถึง ๒๐ ม. ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ใบย่อยรูปรี ขอบใบหยัก ดอกสีขาว กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดยาว ๖ – ๑๐ ซม. ปลายกลีบแผ่บานออกคล้ายปากแตร มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ผลเป็นฝักเรียวยาว บิดเป็นเกลียว เมล็ดรูปสี่เหลี่ยมแบน มีปีกบางใส ออกดอกช่วงเดือนธันวาคม – กุมภาพันธ์ ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
- ไม้ยืนต้น ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ สูง 10-20 เมตร ลำต้นตรงมักแตกกิ่งต่ำ ใบ: ใบเป็นช่อ ช่อใบติดตรงข้ามกันเป็นคู่ๆ ช่อใบรูปขนนก ยาว 12-35 เซนติเมตร ใบช่อหนึ่งๆ มีใบย่อยรูปรีหรือ รูปรีแกมรูปไข่กลับ 3-7 ใบ ใบย่อยจะติดตรงข้ามกันเป็นคู่ๆ ส่วนปลายสุดของช่อใบจะเป็นใบเดี่ยวๆ ดอก: ดอกโตสีขาว รูปแจกันทรงสูงหรือรูปแตร ออกรวมกันเป็นช่อสั้นๆ ตามปลายกิ่ง ช่อดอกแบบติด ดอกสลับ ยาว 2-3 เซนติเมตร แต่ละช่อมีดอกอยู่รวมกัน 3-7 ดอก ผล: ฝักคดโค้งหรือบิดไปมา ผิวหนา เรียบและแข็งเป็นแผ่นหนัง จะมีจุดประสีอ่อนกว่าสีพื้นทั่วไป เปลือก: เปลือกสีน้ำตาล อมเทาและมีประสีดำขาว เปลือกเรียบหรือแตกเป็นสะเก็ดเล็กๆ ทั่วไป)
- ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์- พฤษภาคม ติดผลเดือน มีนาคม-มิถุนายน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาวงจันแดง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาใหญ่-เขาหน้าผาตั้งและเขาตาพรม
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาใหญ่-เขาหน้าผาตั้งและเขาตาพรม
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทะเลน้อย
- อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
- อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
- อุทยานแห่งชาติ เขานัน
- อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
- อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
- อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
- อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
- อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
- อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ ภูจอง-นายอย
- อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
การกระจายพันธุ์ :
- มีเขตการกระจายพันธุ์อยู่ในประเทศลาว พม่า เวียดนาม และในประเทศไทยสามารถพบได้ทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และทางภาคกลาง โดยอาจจะได้ประปรายในป่าเบญจพรรณ และพบได้บ่อยตามนาข้าว ทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ระดับความสูงไม่เกิน 300 เมตร
- พม่า ลาว เวียดนาม ประเทศไทยพบในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคกลาง พบในป่าเบญจพรรณ ที่สูงตั้งแต่ระดับทะเลปานกลางถึง 1,200 เมตร
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้น
- ไม้ต้นผลัดใบ สูง 7-20 เมตร เรือนยอดรูปทรงกระบอก ใบ ประกอบแบบขนนกชั้นเดียวปลายคี่ เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ใบย่อย 7-9 ใบ รูปรีหรือรูปรีแกมรูปไข่กลับ กว้าง 3-5 เซนติเมตร ยาว 5-10 เซนติเมตร ปลายเรียวแหลม โคนสอบและเบี้ยว ขอบหยักตื้นหรือเรียบ แผ่นใบบางคล้ายกระดาษ ด้านล่างมีต่อมขนาดใหญ่ตลอดเส้นกลางใบ ดอก เดี่ยว หรือแบบช่อกระจะ ดอกย่อย 3-7 ดอก เส้นผ่านศูนย์กลาง 8 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูปกรวย มีจะงอยยาว 3-5 เซนติเมตร กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปปากแตร ปลายแยก 5 กลีบ ผิวและขอบกลีบดอกยับย่นเป็นริ้ว เกสรเพศผู้ 4 เกสร สั้น 2 ยาว 2 และเกสรเพศผู้เป็นหมัน 1 เกสร รังไข่เหนือวงกลีบ มี 2 ช่อง ยอดเกสรเพศเมีย แยกเป็น 2 พู ผล แห้งแตกสองซีก รูปทรงกระบอก ฝักคดโค้งหรือบิด หนา เรียบ และแข็ง ยาวประมาณ 85 เซนติเมตร เมล็ดบางแบน ปลายทั้งสองด้านมีเยื่อ บางใสคล้ายปีก สีขาว โปร่งแสง
ระบบนิเวศ :
- พบในป่าเบญจพรรณ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- สระบุรี
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- ลำปาง
- พัทลุง, นครศรีธรรมราช
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- นครศรีธรรมราช
- อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
- กำแพงเพชร
- ลำปาง, ลำพูน
- ตาก
- ชัยภูมิ
- เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
- ชัยภูมิ
- อุบลราชธานี
- กาญจนบุรี
- ชลบุรี
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- เชียงใหม่
- พะเยา, น่าน
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- อุตรดิตถ์
- เลย
- พิษณุโลก
- บึงกาฬ
- อุตรดิตถ์
- ตาก
- ราชบุรี
- พะเยา
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- ตาก
- ตาก
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
การขยายพันธุ์ :
- เพาะเมล็ด
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร,สมุนไพร,ที่อยู่อาศัย,ต้มรับประทานแก้ท้องร่วง แก้บวม ตกเลือดแก้พยาธิ แก้ฝีราก แก้ริดสีดวงงอก
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Dry
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
COUNTRY CULTIVAR
gsno plantname ชนิดพันธุ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ เก็บที่จังหวัด
DOATR 00060 แคนา Dolichandrone serrulata กรุงเทพฯ
gsno plantname ชนิดพันธุ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ เก็บที่จังหวัด