ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดกลาง สูงประมาณ 10-20 เมตร ลำต้น ค่อนข้างคดงอ เป็นปุ่มปมหรือผิวขรุขระเล็กน้อย เปลือกลำต้นสีเทาอมเขียว เปลือกในสีขาวหนา มียางสีขาวเหมือนน้ำนม แตกกิ่งก้านใบหนาแน่น เรือนยอดเป็นรูปทรงกลมหรือรูปทรงกระบอกทึบ ใบ เดี่ยวเรียงสลับระนาบเดียวกัน
รูปรีหรือรูปไข่กลับ เนื้อใบหนากรอบปลายใบเล็กขอบใบหยัก ใบแข็งสากทั้งสองด้าน ดอก เป็นช่อตามง่ามใบ ช่อดอกอาจแยกเพศ หรือดอกสมบูรณ์เพศ ช่อดอกเพศผู้จะรวมกันเป็นช่อดอกแบบหัวกลม
และมีก้านดอกสั้น สีเหลืองอมเขียวหรือเกือบขาว ส่วนดอกเพศเมียก้านดอกจะยาวและมักออกเป็นคู่สีเขียว ผล สดมีเมล็ดเดียว ทรงกลม หรือที่ปลายบุ๋ม ผลสุกสีเหลืองถึงสีส้ม กินได้มีรสหวาน เมล็ด มีลักษณะกลมสีขาวแกมเทา
รูปรีหรือรูปไข่กลับ เนื้อใบหนากรอบปลายใบเล็กขอบใบหยัก ใบแข็งสากทั้งสองด้าน ดอก เป็นช่อตามง่ามใบ ช่อดอกอาจแยกเพศ หรือดอกสมบูรณ์เพศ ช่อดอกเพศผู้จะรวมกันเป็นช่อดอกแบบหัวกลม
และมีก้านดอกสั้น สีเหลืองอมเขียวหรือเกือบขาว ส่วนดอกเพศเมียก้านดอกจะยาวและมักออกเป็นคู่สีเขียว ผล สดมีเมล็ดเดียว ทรงกลม หรือที่ปลายบุ๋ม ผลสุกสีเหลืองถึงสีส้ม กินได้มีรสหวาน เมล็ด มีลักษณะกลมสีขาวแกมเทา
-
ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูงไม่เกิน 10 ม. เปลือกขรุขระ ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กลับหรือรูปรี กว้าง 2-4 ซม. ยาว 4-8 ซม. โคนสอบ ขอบใบหยัก ดอกสีเหลืองแกมเขียว ออกเป็นช่อสั้นที่ซอกใบ ดอกย่อยขนาดเล็กมาก แยกเพศ ดอกเพศผู้อยู่รวมเป็นช่อกลม ก้านดอกสั้น ดอกเพศเมียมีจำนวน 2 ดอกต่อช่อ ก้านดอกยาว ผลเป็นผลสด ทรงกลม เมื่อสุกสีเหลือง ฉ่ำน้ำ มีกลีบรองดอกสีเขียวหุ้มผล
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. มักแตกกอ หูใบยาว 3–5 มม. ใบรูปรี รูปไข่กลับ หรือรูปขอบขนาน ยาวได้ถึง 13 ซม. แผ่นใบสาก ขอบจักฟันเลื่อย เส้นแขนงใบข้างละ 4–8 เส้น ก้านใบยาว 1–5 มม. ช่อดอกเพศผู้แบบช่อกระจุกแน่น เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5–1 ซม. ก้านช่อยาวได้ถึง 1.5 ซม. ดอกเกือบไร้ก้าน กลีบรวมยาวประมาณ 2 มม. เกสรเพศผู้ยาวเท่า ๆ กลีบรวม ช่อดอกเพศเมียก้านช่อยาวได้ถึง 2 ซม. กลีบรวมขยายในผล ยาว 5–8 มม. มีขนสั้นนุ่ม ยอดเกสรเพศเมียขยายในผลยาวได้ถึง 1.2 ซม. ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง 6–8 มม. สุกสีเหลืองอมส้ม
-
ไม้ยืนต้น ใบออกตรงข้าม มีขนาดเล็ก ขอบใบหยักแบบซี่ฟัน เกสรเพศผู้และเกสรเพศเมียอยู่ต่างดอกกัน ดอกเพศผู้รวมกันเป็นช่อดอกแบบหัวกลมมีก้านดอกสั้น สีเหลืองอมเขียว หรือเกือบขาว ส่วนดอกเพศเมียก้านดอกจะยาว มักจะออกเป็นคู่สีเขียว ผลมีกลีบเลี้ยงหุ้มเกือบรอบ ผลสุกมีสีเหลืองอ่อน เปลือกชั้นนอกนิ่ม และฉ่ำน้ำ เมล็ดเกือบกลมมีลักษณะคล้ายเมล็ดพริกไทย
-
ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูงไม่เกิน 10 ม. เปลือกขรุขระ ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กลับหรือรูปรี กว้าง 2-4 ซม. ยาว 4-8 ซม. โคนสอบ ขอบใบหยัก ดอกสีเหลืองแกมเขียว ออกเป็นช่อสั้นที่ซอกใบ ดอกย่อยขนาดเล็กมาก แยกเพศ ดอกเพศผู้อยู่รวมเป็นช่อกลม ก้านดอกสั้น ดอกเพศเมียมีจำนวน 2 ดอกต่อช่อ ก้านดอกยาว ผลเป็นผลสด ทรงกลม เมื่อสุกสีเหลือง ฉ่ำน้ำ มีกลีบรองดอกสีเขียวหุ้มผล
-
ไม้ต้นขนาดกลาง สูงประมาณ ๑๐-๒๐ เมตร
ลำต้น : ค่อนข้างคดงอ เป็นปุ่มปมหรือผิวขรุขระเล็กน้อย เปลือกลำต้นสีเทาอมเขียว เปลือกในสีขาวหนา มียางสีขาวเหมือนน้ำนม แตกกิ่งก้านใบหนาแน่น เรือนยอดเป็นรูปทรงกลมหรือรูปทรงกระบอกทึบ
ใบ : เดี่ยว เรียงสลับระนาบเดียวกัน รูปรีหรือรูปไข่กลับ เนื้อใบหนากรอบปลายใบเล็กขอบใบหยัก ใบแข็งสากทั้งสองด้าน
ดอก : เป็นช่อตามง่ามใบ ช่อดอกอาจแยกเพศ หรือดอกสมบูรณ์เพศ ช่อดอกเพศผู้จะรวมกันเป็นช่อดอกแบบหัวกลม และมีก้านดอกสั้น สีเหลืองอมเขียวหรือเกือบขาว ส่วนดอกเพศเมียก้านดอกจะยาวและมักออกเป็นคู่สีเขียว
ผล : สด มีเมล็ดเดียว ทรงกลม หรือที่ปลายบุ๋ม ผลสุกสีเหลืองถึงสีส้ม กินได้มีรสหวาน
เมล็ด : มีลักษณะกลมสีขาวแกมเทา
ลำต้น : ค่อนข้างคดงอ เป็นปุ่มปมหรือผิวขรุขระเล็กน้อย เปลือกลำต้นสีเทาอมเขียว เปลือกในสีขาวหนา มียางสีขาวเหมือนน้ำนม แตกกิ่งก้านใบหนาแน่น เรือนยอดเป็นรูปทรงกลมหรือรูปทรงกระบอกทึบ
ใบ : เดี่ยว เรียงสลับระนาบเดียวกัน รูปรีหรือรูปไข่กลับ เนื้อใบหนากรอบปลายใบเล็กขอบใบหยัก ใบแข็งสากทั้งสองด้าน
ดอก : เป็นช่อตามง่ามใบ ช่อดอกอาจแยกเพศ หรือดอกสมบูรณ์เพศ ช่อดอกเพศผู้จะรวมกันเป็นช่อดอกแบบหัวกลม และมีก้านดอกสั้น สีเหลืองอมเขียวหรือเกือบขาว ส่วนดอกเพศเมียก้านดอกจะยาวและมักออกเป็นคู่สีเขียว
ผล : สด มีเมล็ดเดียว ทรงกลม หรือที่ปลายบุ๋ม ผลสุกสีเหลืองถึงสีส้ม กินได้มีรสหวาน
เมล็ด : มีลักษณะกลมสีขาวแกมเทา
ระบบนิเวศ :
-
ขึ้นอยู่ทั่วไปในที่ราบทั่วไป ทุ่งนา ป่าโปร่ง ป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สมุทรปราการ
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
อุบลราชธานี
-
สมุทรปราการ
-
สระบุรี
-
สระบุรี
-
ชลบุรี
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
เชียงราย
-
ระยอง, จันทบุรี
-
ระยอง, จันทบุรี
-
ระยอง
-
สตูล
-
สระบุรี
-
ชัยภูมิ
-
สุโขทัย
-
ตาก
-
ตรัง, สตูล
-
กาญจนบุรี
-
ชลบุรี
-
ชลบุรี
-
จันทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ลพบุรี
-
ลพบุรี
-
ลพบุรี
-
บุรีรัมย์
-
พะเยา, น่าน
-
แม่ฮ่องสอน
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ชัยภูมิ
-
เลย
-
เลย
-
พิษณุโลก
-
เลย, เพชรบูรณ์
-
ตาก
-
ตาก
-
ราชบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
กาญจนบุรี
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ตาก
-
นนทบุรี
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
บางกระเจ้า
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
ผาแต้ม
-
พื้นที่คุ้งบางกะเจ้า อำเภอพระประแดง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาชีโอน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า หนองบงคาย
-
อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด
-
อุทยานแห่งชาติ ตะรุเตา
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
-
อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
-
อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
-
อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
-
อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะเภตรา
-
อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
การกระจายพันธุ์ :
-
จากอินเดีย จีนตอนใต้ จนถึงมาเลเซีย ในประเทศไทยพบขึ้นทั่วไปตามที่ลุ่มและป่าละเมาะ ที่ระดับความสูงใกล้น้ำทะเลจนถึง 600 ม.
-
พืชชนิดนี้มีเขตการเจริญพันธุ์ในประเทศไทยทั่วทุกภาค ขึ้นในที่โล่งแจ้งตามทุ่งนา และตามป่ารุ่น ออกดอกและเป็นผลเกือบตลอดปี ในต่างประเทศพบทางตอนใต้ของจีน อินเดีย เนปาล ศรีลังกา พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และภูมิภาคมาเลเซีย
-
จากอินเดีย จีนตอนใต้ จนถึงมาเลเซีย ในประเทศไทยพบขึ้นทั่วไปตามที่ลุ่มและป่าละเมาะ ที่ระดับความสูงใกล้น้ำทะเลจนถึง 600 ม.
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดกลาง สูงถึง 5-10 เมตร เปลือกสีเทาอมเขียว เปลือกในสีขาวหนา ผิวเรียบบาง มักมีขนอยู่โดยทั่วไป มียางขาวข้น แตกกิ่งก้านหนาแน่น ใบเดี่ยว เรียงสลับ แผ่นใบรูปรีหรือรูปไข่กลับ กว้าง 2-4 เซนติเมตร ยาว 4-8 เซนติเมตร ปลายแหลมและมีติ่งแหลมสั้น โคนสอบแคบ ผิวใบทั้งด้านบนและด้านล่างหนามากและสากคายเหมือนกระดาษทราย ขอบใบหยักฟันเลื่อย ก้านใบสั้นมาก ยาว 1-3 มิลลิเมตร หูใบรูปหอก ยาว 2-5 มิลลิเมตร มีขนราบ หลุดร่วงง่าย เส้นใบที่โคนมี 1 คู่ สั้น ไม่มีต่อม ดอก สีเขียวอ่อน มีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อตามซอกใบ
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดกลาง สูงถึง 5-10 เมตร เปลือกสีเทาอมเขียว เปลือกในสีขาวหนา ผิวเรียบบาง มักมีขนอยู่โดยทั่วไป มียางขาวข้น แตกกิ่งก้านหนาแน่น ใบเดี่ยว เรียงสลับ แผ่นใบรูปรีหรือรูปไข่กลับ กว้าง 2-4 เซนติเมตร ยาว 4-8 เซนติเมตร ปลายแหลมและมีติ่งแหลมสั้น โคนสอบแคบ ผิวใบทั้งด้านบนและด้านล่างหนามากและสากคายเหมือนกระดาษทราย ขอบใบหยักฟันเลื่อย ก้านใบสั้นมาก ยาว 1-3 มิลลิเมตร หูใบรูปหอก ยาว 2-5 มิลลิเมตร มีขนราบ หลุดร่วงง่าย เส้นใบที่โคนมี 1 คู่ สั้น ไม่มีต่อม ดอก สีเขียวอ่อน มีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อตามซอกใบ
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดกลาง สูงถึง 5-10 เมตร เปลือกสีเทาอมเขียว เปลือกในสีขาวหนา ผิวเรียบบาง มักมีขนอยู่โดยทั่วไป มียางขาวข้น แตกกิ่งก้านหนาแน่น ใบเดี่ยว เรียงสลับ แผ่นใบรูปรีหรือรูปไข่กลับ กว้าง 2-4 เซนติเมตร ยาว 4-8 เซนติเมตร ปลายแหลมและมีติ่งแหลมสั้น โคนสอบแคบ ผิวใบทั้งด้านบนและด้านล่างหนามากและสากคายเหมือนกระดาษทราย ขอบใบหยักฟันเลื่อย ก้านใบสั้นมาก ยาว 1-3 มิลลิเมตร หูใบรูปหอก ยาว 2-5 มิลลิเมตร มีขนราบ หลุดร่วงง่าย เส้นใบที่โคนมี 1 คู่ สั้น ไม่มีต่อม ดอก สีเขียวอ่อน มีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อตามซอกใบ
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดกลาง สูงถึง 5-10 เมตร เปลือกสีเทาอมเขียว เปลือกในสีขาวหนา ผิวเรียบบาง มักมีขนอยู่โดยทั่วไป มียางขาวข้น แตกกิ่งก้านหนาแน่น ใบเดี่ยว เรียงสลับ แผ่นใบรูปรีหรือรูปไข่กลับ กว้าง 2-4 เซนติเมตร ยาว 4-8 เซนติเมตร ปลายแหลมและมีติ่งแหลมสั้น โคนสอบแคบ ผิวใบทั้งด้านบนและด้านล่างหนามากและสากคายเหมือนกระดาษทราย ขอบใบหยักฟันเลื่อย ก้านใบสั้นมาก ยาว 1-3 มิลลิเมตร หูใบรูปหอก ยาว 2-5 มิลลิเมตร มีขนราบ หลุดร่วงง่าย เส้นใบที่โคนมี 1 คู่ สั้น ไม่มีต่อม ดอก สีเขียวอ่อน มีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อตามซอกใบ
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดกลาง สูงถึง 5-10 เมตร เปลือกสีเทาอมเขียว เปลือกในสีขาวหนา ผิวเรียบบาง มักมีขนอยู่โดยทั่วไป มียางขาวข้น แตกกิ่งก้านหนาแน่น ใบเดี่ยว เรียงสลับ แผ่นใบรูปรีหรือรูปไข่กลับ กว้าง 2-4 เซนติเมตร ยาว 4-8 เซนติเมตร ปลายแหลมและมีติ่งแหลมสั้น โคนสอบแคบ ผิวใบทั้งด้านบนและด้านล่างหนามากและสากคายเหมือนกระดาษทราย ขอบใบหยักฟันเลื่อย ก้านใบสั้นมาก ยาว 1-3 มิลลิเมตร หูใบรูปหอก ยาว 2-5 มิลลิเมตร มีขนราบ หลุดร่วงง่าย เส้นใบที่โคนมี 1 คู่ สั้น ไม่มีต่อม ดอก สีเขียวอ่อน มีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อตามซอกใบ
การขยายพันธุ์ :
-
1. การปักชำ
2. การเพาะเมล็ด
2. การเพาะเมล็ด
-
1. การปักชำ
2. การเพาะเมล็ด
2. การเพาะเมล็ด
-
1. การปักชำ
2. การเพาะเมล็ด
2. การเพาะเมล็ด
-
1. การปักชำ
2. การเพาะเมล็ด
2. การเพาะเมล็ด
-
1. การปักชำ
2. การเพาะเมล็ด
2. การเพาะเมล็ด
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
ส่วนของตัวอย่างที่นำมาใช้ :
-
ราก เปลือกต้น กระพี้ เนื้อไม้ กิ่ง ใบ เมล็ด น้ำมัน
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ราก : รักษาบาดแผล ขับปัสสาวะ ขับเมือกมันในลำไส้ แก้ไตพิการ บำรุงหัวใจ
ฆ่าพยาธิ ทำให้คลื่นเหียนอาเจียน ฆ่าพยาธิ รำมะนาด
เปลือกต้น : แก้โรคทางฟัน รสเบื่อเมา ดับพิษภายใน แก้พยาธิผิวหนัง ดับพิษในกระดูก
และเส้นเอ็น แก้บิด แก้ไข้ รักษารำมะนาด รักษาแผล
กระพี้ : แก้มะเร็ง แก้ผื่นคัน
แก่น : แก้เบาหวาน แก้แมงกินฟัน แก้ริดสีดวงจมูก
เนื้อไม้ : แก้แมงกินฟัน แก้ปวดฟัน ขับปัสสาวะ ขับเมือกมันในลำไส้ แก้ไตพิการ
กิ่ง : แทนแปรงสีฟัน ทำให้ฟันคงทน
ใบ : ยาระบายอ่อนๆ แก้กระหายน้ำ แก้ปวดประจำเดือน
ผล : แก้โลหิตและลม เป็นยาอายุวัฒนะ
เมล็ด : เป็นยาอายุวัฒนะ แก้โลหิตและลม ขับลมในลำไส้ เป็นยาบำรุงธาตุ แก้โลหิต
เป็นพิษ ฆ่าเชื้อในช่องปากและทางเดินอาหาร เจริญอาหาร แก้ท้องอืด ขับลม
น้ำมัน : ทาแก้ริดสีดวง
-
อาหาร,สมุนไพร,ไม้ดอกไม้ประดับ,ทำกระดาษ กิ่งสดใช้สีฟัน
-
ไม้ประดับ นิยมตัดแต่ง
เป็นรูปทรงต่างๆ
-
แก้บิด แก้ไข้ และแก้ท้องเสีย โดยใช้เปลือกต้นขนาดประมาณ 1 ฝ่ามือ สับเป็นชิ้นต้มกับน้ำดื่ม
รักษาอาการปวดฟัน โดยใช้เปลือกต้นสดขนาดประมาณ 1 ฝ่ามือสับเป็นชิ้นต้มกับน้ำพอสมควร และใส่เกลือให้มีรสเค็ม ต้มนาน 10-15 นาที เอาน้ำขณะที่ยังอุ่น อมบ่อยๆ
-
แก้บิด แก้ไข้ และแก้ท้องเสีย โดยใช้เปลือกต้นขนาดประมาณ 1 ฝ่ามือ สับเป็นชิ้นต้มกับน้ำดื่ม
รักษาอาการปวดฟัน โดยใช้เปลือกต้นสดขนาดประมาณ 1 ฝ่ามือสับเป็นชิ้นต้มกับน้ำพอสมควร และใส่เกลือให้มีรสเค็ม ต้มนาน 10-15 นาที เอาน้ำขณะที่ยังอุ่น อมบ่อยๆ
-
แก้บิด แก้ไข้ และแก้ท้องเสีย โดยใช้เปลือกต้นขนาดประมาณ 1 ฝ่ามือ สับเป็นชิ้นต้มกับน้ำดื่ม
รักษาอาการปวดฟัน โดยใช้เปลือกต้นสดขนาดประมาณ 1 ฝ่ามือสับเป็นชิ้นต้มกับน้ำพอสมควร และใส่เกลือให้มีรสเค็ม ต้มนาน 10-15 นาที เอาน้ำขณะที่ยังอุ่น อมบ่อยๆ
-
แก้บิด แก้ไข้ และแก้ท้องเสีย โดยใช้เปลือกต้นขนาดประมาณ 1 ฝ่ามือ สับเป็นชิ้นต้มกับน้ำดื่ม
รักษาอาการปวดฟัน โดยใช้เปลือกต้นสดขนาดประมาณ 1 ฝ่ามือสับเป็นชิ้นต้มกับน้ำพอสมควร และใส่เกลือให้มีรสเค็ม ต้มนาน 10-15 นาที เอาน้ำขณะที่ยังอุ่น อมบ่อยๆ
-
แก้บิด แก้ไข้ และแก้ท้องเสีย โดยใช้เปลือกต้นขนาดประมาณ 1 ฝ่ามือ สับเป็นชิ้นต้มกับน้ำดื่ม
รักษาอาการปวดฟัน โดยใช้เปลือกต้นสดขนาดประมาณ 1 ฝ่ามือสับเป็นชิ้นต้มกับน้ำพอสมควร และใส่เกลือให้มีรสเค็ม ต้มนาน 10-15 นาที เอาน้ำขณะที่ยังอุ่น อมบ่อยๆ
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล
-
กองสิ่งแวดล้อมชุมชนและพื้นที่เฉพาะ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
-
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
ไม้ต้นที่มีสรรพคุณทางสมุนไพร และควรนำมาขยายพันธุ์เพื่อฟื้นฟูและอนุรักษ์พื้นที่สีเขียวคุ้งบางกะเจ้าสู่ความยั่งยืน, กองสิ่งแวดล้อมชุมชนและพื้นที่เฉพาะ, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2562
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
IUCN Red List
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |