ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ยืนต้น สูงประมาณ 20 เมตร หรือเป็นไม้พุ่ม ขึ้นบนพื้นดินหรือกึ่งอิงอาศัย เป็นไม้ผลัดใบ กิ่งแก่สีเหลืองน้ำตาล กิ่งอ่อนเป็นเหลี่ยม อาจมีขนนุ่มสีขาวปกคลุมบางๆ ใบเรียงเวียน แผ่นใบรูปรีแกมไข่ กว้าง 4-12 เซนติเมตร ยาว 5-16 เซนติเมตร ผิวใบคล้ายแผ่นหนัง ไม่มีขนปกคลุม ปลายใบเรียวแหลม โคนใบรูปตัด รูปหัวใจ หรือรูปลิ่ม ก้านใบยาว 4-6 เซนติเมตร หูใบเกลี้ยง ยาว 1-3.5 เซนติเมตร หลุดร่วงง่าย ช่อดอกออกที่ปลายยอด หรือที่โคนใบ อยู่เดี่ยวหรือเป็นคู่ ไม่มีก้าน ใบประดับเกลี้ยง ติดทน ฐานรองดอกกึ่งทรงกลม ผิวเกลี้ยง สีจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงดำเมื่อแก่ เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.9-1.2 เซนติเมตร ผิวมักเหี่ยวย่นเมื่อแห้ง ส่วนยอดเว้าเข้า ช่องเปิดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-2.5 มิลลิเมตร ดอกเพศผู้กระจายตัว กลีบรวมสีแดงเข้ม รังไข่สีขาว
- ไม้ยืนต้น สูงประมาณ 20 เมตร หรือเป็นไม้พุ่ม ขึ้นบนพื้นดินหรือกึ่งอิงอาศัย เป็นไม้ผลัดใบ กิ่งแก่สีเหลืองน้ำตาล กิ่งอ่อนเป็นเหลี่ยม อาจมีขนนุ่มสีขาวปกคลุมบางๆ ใบเรียงเวียน แผ่นใบรูปรีแกมไข่ กว้าง 4-12 เซนติเมตร ยาว 5-16 เซนติเมตร ผิวใบคล้ายแผ่นหนัง ไม่มีขนปกคลุม ปลายใบเรียวแหลม โคนใบรูปตัด รูปหัวใจ หรือรูปลิ่ม ก้านใบยาว 4-6 เซนติเมตร หูใบเกลี้ยง ยาว 1-3.5 เซนติเมตร หลุดร่วงง่าย ช่อดอกออกที่ปลายยอด หรือที่โคนใบ อยู่เดี่ยวหรือเป็นคู่ ไม่มีก้าน ใบประดับเกลี้ยง ติดทน ฐานรองดอกกึ่งทรงกลม ผิวเกลี้ยง สีจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงดำเมื่อแก่ เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.9-1.2 เซนติเมตร ผิวมักเหี่ยวย่นเมื่อแห้ง ส่วนยอดเว้าเข้า ช่องเปิดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-2.5 มิลลิเมตร ดอกเพศผู้กระจายตัว กลีบรวมสีแดงเข้ม รังไข่สีขาว
- ไม้ยืนต้น สูงประมาณ 20 เมตร หรือเป็นไม้พุ่ม ขึ้นบนพื้นดินหรือกึ่งอิงอาศัย เป็นไม้ผลัดใบ กิ่งแก่สีเหลืองน้ำตาล กิ่งอ่อนเป็นเหลี่ยม อาจมีขนนุ่มสีขาวปกคลุมบางๆ ใบเรียงเวียน แผ่นใบรูปรีแกมไข่ กว้าง 4-12 เซนติเมตร ยาว 5-16 เซนติเมตร ผิวใบคล้ายแผ่นหนัง ไม่มีขนปกคลุม ปลายใบเรียวแหลม โคนใบรูปตัด รูปหัวใจ หรือรูปลิ่ม ก้านใบยาว 4-6 เซนติเมตร หูใบเกลี้ยง ยาว 1-3.5 เซนติเมตร หลุดร่วงง่าย ช่อดอกออกที่ปลายยอด หรือที่โคนใบ อยู่เดี่ยวหรือเป็นคู่ ไม่มีก้าน ใบประดับเกลี้ยง ติดทน ฐานรองดอกกึ่งทรงกลม ผิวเกลี้ยง สีจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงดำเมื่อแก่ เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.9-1.2 เซนติเมตร ผิวมักเหี่ยวย่นเมื่อแห้ง ส่วนยอดเว้าเข้า ช่องเปิดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-2.5 มิลลิเมตร ดอกเพศผู้กระจายตัว กลีบรวมสีแดงเข้ม รังไข่สีขาว
- ไม้ยืนต้น สูงประมาณ 20 เมตร หรือเป็นไม้พุ่ม ขึ้นบนพื้นดินหรือกึ่งอิงอาศัย เป็นไม้ผลัดใบ กิ่งแก่สีเหลืองน้ำตาล กิ่งอ่อนเป็นเหลี่ยม อาจมีขนนุ่มสีขาวปกคลุมบางๆ ใบเรียงเวียน แผ่นใบรูปรีแกมไข่ กว้าง 4-12 เซนติเมตร ยาว 5-16 เซนติเมตร ผิวใบคล้ายแผ่นหนัง ไม่มีขนปกคลุม ปลายใบเรียวแหลม โคนใบรูปตัด รูปหัวใจ หรือรูปลิ่ม ก้านใบยาว 4-6 เซนติเมตร หูใบเกลี้ยง ยาว 1-3.5 เซนติเมตร หลุดร่วงง่าย ช่อดอกออกที่ปลายยอด หรือที่โคนใบ อยู่เดี่ยวหรือเป็นคู่ ไม่มีก้าน ใบประดับเกลี้ยง ติดทน ฐานรองดอกกึ่งทรงกลม ผิวเกลี้ยง สีจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงดำเมื่อแก่ เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.9-1.2 เซนติเมตร ผิวมักเหี่ยวย่นเมื่อแห้ง ส่วนยอดเว้าเข้า ช่องเปิดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-2.5 มิลลิเมตร ดอกเพศผู้กระจายตัว กลีบรวมสีแดงเข้ม รังไข่สีขาว
การกระจายพันธุ์ :
- หมู่เกาะโคโคส ปากีสถาน เนปาล ภูฏาน อินเดีย บังกลาเทศ พม่า ลาว เวียดนาม กัมพูชา มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ลำปาง สกลนคร ศรีสะเกษ ประจวบคีรีขันธ์ สระบุรี ชลบุรี พังงา สงขลา และปัตตานี พบตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และมักพบปลูกตามวัด
- หมู่เกาะโคโคส ปากีสถาน เนปาล ภูฏาน อินเดีย บังกลาเทศ พม่า ลาว เวียดนาม กัมพูชา มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ลำปาง สกลนคร ศรีสะเกษ ประจวบคีรีขันธ์ สระบุรี ชลบุรี พังงา สงขลา และปัตตานี พบตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และมักพบปลูกตามวัด
- หมู่เกาะโคโคส ปากีสถาน เนปาล ภูฏาน อินเดีย บังกลาเทศ พม่า ลาว เวียดนาม กัมพูชา มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ลำปาง สกลนคร ศรีสะเกษ ประจวบคีรีขันธ์ สระบุรี ชลบุรี พังงา สงขลา และปัตตานี พบตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และมักพบปลูกตามวัด
- หมู่เกาะโคโคส ปากีสถาน เนปาล ภูฏาน อินเดีย บังกลาเทศ พม่า ลาว เวียดนาม กัมพูชา มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ลำปาง สกลนคร ศรีสะเกษ ประจวบคีรีขันธ์ สระบุรี ชลบุรี พังงา สงขลา และปัตตานี พบตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และมักพบปลูกตามวัด
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- อุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ถ้ำผาท่าพล
- อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- พังงา
- พิษณุโลก
- ระยอง, จันทบุรี
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- ลพบุรี
- แม่ฮ่องสอน
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- ตาก
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ