ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Herbaceous climber.
-
เป็นไม้ล้มลุกประเภทเถาเลื้อยไปไกลกว่า 10 เมตร มีหัวขนาดใหญ่อยู่ใต้ดิน ลึกราว 10-15 ซม. ตามหัวมีขนเต็มไปหมด มีลักษณะคล้ายมันมือเสือเนื้อสีขาว บางชนิดสีครีม เถาต้นตรงมีหนามตลอดแนว
ระบบนิเวศ :
-
Open areas in deciduous and evergreen forests, to 1,200 m alt.
การกระจายพันธุ์ :
-
Tropics and subtropics, from India to N Australia.
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Alloverthecountry
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
ชลบุรี
-
บุรีรัมย์
-
แม่ฮ่องสอน
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุบลราชธานี
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุบลราชธานี
-
แม่ฮ่องสอน
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ลำปาง
-
ป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำพรุควนขี้เสียน
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
สุรินทร์
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ใบ - เป็นใบประกอบขึ้นเรียงสลับตามเถา มีใบย่อย 3 ใบ รูปทรงรีกว้าง 8-15 ซม. ยาว 8-14 ซม.
ดอก - ออกเป็นช่อตามซอกใบ แยกเพศอยู่คนละต้น ลักษณะของดอกห้อยลง ดอกเพศผู้ยาวได้ถึง 40 ซม. ออกซ้อน 2-3 ชั้น ดอกเพศเมียเป็นช่อเดี่ยว เวลาบานสีเหลือง
ผล - ทรงกลมพอแห้ง มีปีก 3 ปีก
ดอก - ออกเป็นช่อตามซอกใบ แยกเพศอยู่คนละต้น ลักษณะของดอกห้อยลง ดอกเพศผู้ยาวได้ถึง 40 ซม. ออกซ้อน 2-3 ชั้น ดอกเพศเมียเป็นช่อเดี่ยว เวลาบานสีเหลือง
ผล - ทรงกลมพอแห้ง มีปีก 3 ปีก
ที่มาของข้อมูล
-
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
โครงการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนในท้องถิ่น, กองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช