ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาประทับช้าง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาใหญ่-เขาหน้าผาตั้งและเขาตาพรม
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
- อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
- อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
- อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
- อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
- อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
- อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
- อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
- อุทยานแห่งชาติ ภูเวียง
- อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
- อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
- อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
- อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
- อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
- อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- บ้านทำนบ หมู่ที่ 4 ต.กันตวจระมวล อ.ปราสาท จ.สุรินทร์
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุตรดิตถ์,แพร่
- เชียงใหม่
- ราชบุรี
- อุตรดิตถ์
- พะเยา, เชียงราย
- นครราชสีมา
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- ลำปาง
- ชัยภูมิ
- เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- เลย
- เลย
- พะเยา, เชียงราย
- สกลนคร, กาฬสินธุ์
- ขอนแก่น
- เลย
- เชียงใหม่
- ตาก
- สุโขทัย
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- ลำพูน, ลำปาง
- สุโขทัย, ลำปาง
- ชัยภูมิ
- ศรีสะเกษ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- เลย
- เลย
- กาฬสินธุ์
- ราชบุรี
- พะเยา
- กาญจนบุรี
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- กาญจนบุรี
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- ตาก
- ลำปาง
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- ป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน
- ป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน
- สุรินทร์
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้น ผลัดใบ ขนาดกลาง สูง 15 – 30 เมตร ลำต้นตั้งตรง
ใบ: ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดี่ยว
ดอก: ดอกสีขาว ดอกแบบถั่ว ออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอก ออก มี.ค – เม.ย
ผล: ผลเป็นฝักแห้งแบน รูปขอบขนาน ปลายและ โคนมน แห้งดำไม่แตก ผล ออก มิ.ย – ก.ย
- ไม้ต้น ผลัดใบ ขนาดกลาง สูง 15 – 30 เมตร ลำต้นตั้งตรง
ใบ: ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดี่ยว
ดอก: ดอกสีขาว ดอกแบบถั่ว ออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอก ออก มี.ค – เม.ย
ผล: ผลเป็นฝักแห้งแบน รูปขอบขนาน ปลายและ โคนมน แห้งดำไม่แตก ผล ออก มิ.ย – ก.ย
- ไม้ต้น ผลัดใบ ขนาดกลาง สูง 15 – 30 เมตร ลำต้นตั้งตรง
ใบ: ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดี่ยว
ดอก: ดอกสีขาว ดอกแบบถั่ว ออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอก ออก มี.ค – เม.ย
ผล: ผลเป็นฝักแห้งแบน รูปขอบขนาน ปลายและ โคนมน แห้งดำไม่แตก ผล ออก มิ.ย – ก.ย
- ไม้ต้น ผลัดใบ ขนาดกลาง สูง 15 – 30 เมตร ลำต้นตั้งตรง
ใบ: ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดี่ยว
ดอก: ดอกสีขาว ดอกแบบถั่ว ออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอก ออก มี.ค – เม.ย
ผล: ผลเป็นฝักแห้งแบน รูปขอบขนาน ปลายและ โคนมน แห้งดำไม่แตก ผล ออก มิ.ย – ก.ย
- ไม้ต้น ผลัดใบ ขนาดกลาง สูง 15 – 30 เมตร ลำต้นตั้งตรง
ใบ: ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดี่ยว
ดอก: ดอกสีขาว ดอกแบบถั่ว ออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอก ออก มี.ค – เม.ย
ผล: ผลเป็นฝักแห้งแบน รูปขอบขนาน ปลายและ โคนมน แห้งดำไม่แตก ผล ออก มิ.ย – ก.ย
- ใบ - เป็นใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ ออกเรียงสลับ ยาวประมาณ 9-15 เซนติเมตร ใบย่อยมี 5-9 ใบ เรียงสลับ ลักษณะของใบย่อยเป็นรูปไข่กลับหรือรูปรีแกมขอบขนาน ปลายใบมนหรือเว้าตรงกลางเล็กน้อยหรือมีติ่งแหลมสั้นๆ โคนใบมน ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 2-3 เซนติเมตร และยาวประมาณ 3.5-6.5 เซนติเมตร แผ่นใบหนาคล้ายหนังและเกลี้ยง แต่ใบอ่อนมีขนขึ้นประปรายทางด้านล่างก้านใบย่อยยาวได้ประมาณ 3-6 มิลลิเมตร
ดอก - ออกดอกเป็นช่อแยกแขนงสั้นๆ ที่ปลายกิ่ง ยาวประมาณ 5-10 เซนติเมตร ดอกมีขนาดเล็กเป็นสีขาว มีจำนวนมาก ลักษณะเป็นรูปดอกถั่ว กลีบดอกมี 5 กลีบ สีขาว โคนกลีบเรียวลงเป็นก้านกลีบดอก กลีบเลี้ยงดอกมี 5 กลีบ โคนกลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอดสั้นๆ ด้านนอกมีขนเล็กน้อย ดอกมีเกสรเพศผู้ 9 อัน ก้านชูอับเรณูติดกันเป็นแผ่น รังไข่มีขนขึ้นประปราย มีออวุล 2 เม็ด
ผล - ออกผลเป็นฝักแบน ลักษณะของฝักเป็นรูปขอบขนาน ปลายฝักแหลมหรือมน มีลายเส้นร่างแหบริเวณเมล็ดชัดเจน ฝักมีขนาดกว้างประมาณ 1.4-2 เซนติเมตร และยาวประมาณ 3.5-7 เซนติเมตร ฝักเมื่อแห้งจะไม่แตก ภายในมีเมล็ดประมาณ 1-2 เมล็ด เมล็ดเป็นสีน้ำตาล ลักษณะของเมล็ดเป็นรูปไต แบน มีขนาดกว้างประมาณ 1.2 เซนติเมตร และยาวประมาณ 9 มิลลิเมตร
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น ผลัดใบ สูง 15-30 เมตร ลำต้นตั้งตรง กิ่งอ่อนมีขนกระจายทั่วไป ใบประกอบแบบขนนกเรียงสลับ ใบย่อย 9-13 ใบ รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 1-2 ซม. ยาว 1.5-4.5 ซม. หลังใบสีเขียวเข้ม ท้องใบมีนวล ดอกช่อแยกแขนง ออกเป็นช่อสั้นๆ ที่ซอกใบและปลายกิ่ง ดอกย่อยจำนวนมาก รูปดอกถั่ว สีขาวครีม ผลเป็นฝัก รูปขอบขนาน แบน ผิวเรียบ มี 1-3 เมล็ด เมื่อสุกสีดำ
- จัดเป็นพรรณไม้เถาเนื้อแข็งขนาดใหญ่ พาดพันตามต้นไม้ใหญ่ไปได้ไกล ลำต้นเป็นสีเทาหรือสีขาว ตามกิ่งอ่อนและยอดอ่อนมีขนเล็กน้อย ส่วนกิ่งแก่จะเกลี้ยง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- ราก : ป้องกันรังแค เปลือกต้น : ผสมลำต้นตาปู ลำต้นตาเสือ ต้มน้ำดื่ม แก้คอพอก แก่น : แก้ขี้เรื้อนใหญ่ ขี้เรื้อนกวาง และขี้เรื้อนน้ำเต้า
ที่มาของข้อมูล
ข้อมูลสภานภาพ CITES

CITES โลก

- บัญชีหมายเลข II (ประกาศใช้เมื่อ 2019-11-26)

- บัญชีหมายเลข II (ประกาศใช้เมื่อ 2017-01-02)

CITES ไทย

- บัญชีหมายเลข II