ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น ผลัดใบ มีความสูง 15-30 เมตร ลำต้น เปลาตรง สูงชะลูด โคนต้นมีพูพอนต่ำ ๆ เปลือกนอกสีเทา ค่อนข้างเรียบ แตกเป็นร่องยาวตามลำต้น เปลือกในค่อนข้างหนา มีน้ำยางสีขาวไหลเมื่อถาก ใบ เป็นช่อ ติดเวียนสลับกันเป็นกลุ่มตามปลายใบ แต่ละช่อมีใบย่อยรูปขอบขนานแกมรูปหอก ออกจากปลาย ก้านช่อกางแผ่ในระดับเดียวกันแบบรูปนิ้วมือ 6-8 ใบ ปลายใบแหลมโคนใบสอบ
เป็นรูปลิ่ม ใบอ่อนจะมีขนนุ่ม สีน้ำตาลแดง ใบแก่สีเขียวเข้ม เกลี้ยงหรือเกือบเกลี้ยง ดอก ออกเป็น
ช่อใหญ่ๆ มีกิ่งช่อแขนงมากตามปลายกิ่ง ช่อดอกจะออกไล่เลี่ยกับการผลิใบใหม่ ก้านช่อและก้านดอกเกลี้ยง วงกลีบรวมสีแสดแดง โคนกลีบติดกันเป็นรูปถ้วยปลายแยกกันเป็นกลีบแหลมๆ 5 แฉก (ไม่มีกลีบดอก) ดอกสีเหลือง เมื่อตูมแล้วเปลี่ยนเป็นสีแสดหรือแดง เมื่อบานมีกลิ่นแบบสุนัขหลง
ผล รูปไตหรือกระเพาะไก่ขนาดใหญ่ ออกรวมกันเป็นพวงห้อยย้อยลง ผลอ่อนเปลือกค่อนข้างนุ่มและมีสีชมพูเรื่อๆ ผลแก่เปลือกแข็ง เมื่อแก่จะแตกอ้าออก ผิวเปลือกด้านในสีแดงเข้ม
เป็นรูปลิ่ม ใบอ่อนจะมีขนนุ่ม สีน้ำตาลแดง ใบแก่สีเขียวเข้ม เกลี้ยงหรือเกือบเกลี้ยง ดอก ออกเป็น
ช่อใหญ่ๆ มีกิ่งช่อแขนงมากตามปลายกิ่ง ช่อดอกจะออกไล่เลี่ยกับการผลิใบใหม่ ก้านช่อและก้านดอกเกลี้ยง วงกลีบรวมสีแสดแดง โคนกลีบติดกันเป็นรูปถ้วยปลายแยกกันเป็นกลีบแหลมๆ 5 แฉก (ไม่มีกลีบดอก) ดอกสีเหลือง เมื่อตูมแล้วเปลี่ยนเป็นสีแสดหรือแดง เมื่อบานมีกลิ่นแบบสุนัขหลง
ผล รูปไตหรือกระเพาะไก่ขนาดใหญ่ ออกรวมกันเป็นพวงห้อยย้อยลง ผลอ่อนเปลือกค่อนข้างนุ่มและมีสีชมพูเรื่อๆ ผลแก่เปลือกแข็ง เมื่อแก่จะแตกอ้าออก ผิวเปลือกด้านในสีแดงเข้ม
-
ไม้ต้น ผลัดใบ มีความสูง 15-30 เมตร
ลำต้น : เปลาตรง สูงชะลูด โคนต้นมีพูพอนต่ำ ๆ เปลือกนอกสีเทา ค่อนข้างเรียบ แตกเป็นร่องยาวตามลำต้น เปลือกในค่อนข้างหนา มีน้ำยางสีขาวไหลเมื่อถาก ใบ เป็นช่อ ติดเวียนสลับกันเป็นกลุ่มตามปลายใบ แต่ละช่อมีใบย่อยรูปขอบขนานแกมรูปหอก ออกจากปลาย ก้านช่อกางแผ่ในระดับเดียวกันแบบรูปนิ้วมือ 6-8 ใบ ปลายใบแหลมโคนใบสอบเป็นรูปลิ่ม ใบอ่อนจะมีขนนุ่ม สีน้ำตาลแดง ใบแก่สีเขียวเข้ม เกลี้ยงหรือเกือบเกลี้ยง
ดอก : ออกเป็นช่อใหญ่ๆ มีกิ่งช่อแขนงมากตามปลายกิ่ง ช่อดอกจะออกไล่เลี่ยกับการผลิใบใหม่ ก้านช่อและก้านดอกเกลี้ยง วงกลีบรวมสีแสดแดง โคนกลีบติดกันเป็นรูปถ้วยปลายแยกกันเป็นกลีบแหลมๆ 5 แฉก (ไม่มีกลีบดอก) ดอกสีเหลือง เมื่อตูมแล้วเปลี่ยนเป็นสีแสดหรือแดง เมื่อบานมีกลิ่นแบบสุนัขหลง
ผล : รูปไตหรือกระเพาะไก่ขนาดใหญ่ ออกรวมกันเป็นพวงห้อยย้อยลง ผลอ่อนเปลือกค่อนข้างนุ่มและมีสีชมพูเรื่อๆ ผลแก่เปลือกแข็ง เมื่อแก่จะแตกอ้าออก ผิวเปลือกด้านในสีแดงเข้ม
ลำต้น : เปลาตรง สูงชะลูด โคนต้นมีพูพอนต่ำ ๆ เปลือกนอกสีเทา ค่อนข้างเรียบ แตกเป็นร่องยาวตามลำต้น เปลือกในค่อนข้างหนา มีน้ำยางสีขาวไหลเมื่อถาก ใบ เป็นช่อ ติดเวียนสลับกันเป็นกลุ่มตามปลายใบ แต่ละช่อมีใบย่อยรูปขอบขนานแกมรูปหอก ออกจากปลาย ก้านช่อกางแผ่ในระดับเดียวกันแบบรูปนิ้วมือ 6-8 ใบ ปลายใบแหลมโคนใบสอบเป็นรูปลิ่ม ใบอ่อนจะมีขนนุ่ม สีน้ำตาลแดง ใบแก่สีเขียวเข้ม เกลี้ยงหรือเกือบเกลี้ยง
ดอก : ออกเป็นช่อใหญ่ๆ มีกิ่งช่อแขนงมากตามปลายกิ่ง ช่อดอกจะออกไล่เลี่ยกับการผลิใบใหม่ ก้านช่อและก้านดอกเกลี้ยง วงกลีบรวมสีแสดแดง โคนกลีบติดกันเป็นรูปถ้วยปลายแยกกันเป็นกลีบแหลมๆ 5 แฉก (ไม่มีกลีบดอก) ดอกสีเหลือง เมื่อตูมแล้วเปลี่ยนเป็นสีแสดหรือแดง เมื่อบานมีกลิ่นแบบสุนัขหลง
ผล : รูปไตหรือกระเพาะไก่ขนาดใหญ่ ออกรวมกันเป็นพวงห้อยย้อยลง ผลอ่อนเปลือกค่อนข้างนุ่มและมีสีชมพูเรื่อๆ ผลแก่เปลือกแข็ง เมื่อแก่จะแตกอ้าออก ผิวเปลือกด้านในสีแดงเข้ม
ระบบนิเวศ :
-
พบตามป่าเบญจพรรณและป่าดงดิบทั่วไป สูงจากระดับน้ำทะเล 100-600 เมตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สมุทรปราการ
-
ประจวบคีรีขันธ์
-
นนทบุรี
-
สมุทรปราการ
-
เพชรบุรี
-
เชียงราย
-
อุทัยธานี
-
ระยอง, จันทบุรี
-
ระยอง, จันทบุรี
-
พะเยา
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
ชัยภูมิ
-
พะเยา, เชียงราย
-
ลำปาง, ตาก
-
ตาก
-
ชลบุรี
-
ชลบุรี
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
ลพบุรี
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
เพชรบูรณ์
-
ตาก
-
ตาก
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
บางกระเจ้า
-
อุทยานแห่งชาติสามร้อยยอด
-
พื้นที่เกษตรกรรมริมน้ำนนทบุรีและเกาะเกร็ด
-
พื้นที่คุ้งบางกะเจ้า อำเภอพระประแดง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขากระปุก-เขาเตาหม้อ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอนศิลา
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ถ้ำประทุน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
ส่วนของตัวอย่างที่นำมาใช้ :
-
เมล็ด ด่างไม้
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
เปลือกต้น : กล่อมเสมหะและอาจม แก้บิด ขับปัสสาวะ แก้บวมน้ำ แก้ปวดข้อ
เป็นยาระบายอ่อน ๆ ขับเหงื่อ
ใบ : เป็นยาระบาย
ฝัก : สมานลำไส้ แก้ไตพิการ แก้ท้องร่วง แก้บิด เปลือกฝัก แก้โรคไตพิการ
ขับลมในกระเพาะอาหาร ขับเมือกมันในลำไส้ แก้โรคลำไส้ แก้ปัสสาวะพิการ
แก้คุดทะราด แก้มะเร็ง แก้กระษัย แก้ริดสีดวง เนื้อในฝัก สมานลำไส้
แก้ไตพิการ
เมล็ด : เป็นยาระบาย รักษาบาดแผล เปลือกหุ้มเมล็ด แก้ร้อนภายใน
แก้กระหายน้ำ
ด่างไม้ : แก้กระษัย กัดกานเสมหะ กัดดานเลือด กัดดานลม ขับปัสสาวะ แก้นิ่ว
ขับมุตกิต ชำระล้างลำไส้
-
เนื้อไม้ใช้ทำกระดาน เครื่องเรือน เปลือกใช้ทำเชือกหยาบ น้ำมันจากเนื้อในเมล็ดใช้ปรุงอาหารและใช้จุดไฟ ใบเป็นยาระบาย ผลเป็นยาสมานท้องและแก้โรคไต เมล็ดอบแล้วกินได้ เปลือกและใบใช้ไล่แมลง
ที่มาของข้อมูล
-
กองสิ่งแวดล้อมชุมชนและพื้นที่เฉพาะ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกษตร, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
ไม้ต้นที่มีสรรพคุณทางสมุนไพร และควรนำมาขยายพันธุ์เพื่อฟื้นฟูและอนุรักษ์พื้นที่สีเขียวคุ้งบางกะเจ้าสู่ความยั่งยืน, กองสิ่งแวดล้อมชุมชนและพื้นที่เฉพาะ, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2562
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช