ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นสูงได้ถึง 30 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กลับหรือรูปรี กว้าง 7-12 ซม. ยาว 10-20 ซม. โคนและปลายใบมน เส้นใบเรียงขนานกันชัดเจน ดอกสีเหลืองขนาดใหญ่ ออกเดี่ยวที่ปลายยอด ขนาด 8-12 ซม. กลีบรองดอกสีเขียวติดคงทน กลีบดอก 5 กลีบ กว้าง 4-6 ซม. ยาว 7 ซม. หลุดร่วงง่าย เกสรผู้จำนวนมากเรียงเป็น 2 วง ผลเป็นผลสดลักษณะเป็นกาบอวบน้ำห่อกันเป็นทรงกลม ขนาด 5-6 ซม.
-
ไม้ต้นสูงได้ถึง 30 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กลับหรือรูปรี กว้าง 7-12 ซม. ยาว 10-20 ซม. โคนและปลายใบมน เส้นใบเรียงขนานกันชัดเจน ดอกสีเหลืองขนาดใหญ่ ออกเดี่ยวที่ปลายยอด ขนาด 8-12 ซม. กลีบรองดอกสีเขียวติดคงทน กลีบดอก 5 กลีบ กว้าง 4-6 ซม. ยาว 7 ซม. หลุดร่วงง่าย เกสรผู้จำนวนมากเรียงเป็น 2 วง ผลเป็นผลสดลักษณะเป็นกาบอวบน้ำห่อกันเป็นทรงกลม ขนาด 5-6 ซม.
-
ไม้ต้นสูงได้ถึง 30 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กลับหรือรูปรี กว้าง 7-12 ซม. ยาว 10-20 ซม. โคนและปลายใบมน เส้นใบเรียงขนานกันชัดเจน ดอกสีเหลืองขนาดใหญ่ ออกเดี่ยวที่ปลายยอด ขนาด 8-12 ซม. กลีบรองดอกสีเขียวติดคงทน กลีบดอก 5 กลีบ กว้าง 4-6 ซม. ยาว 7 ซม. หลุดร่วงง่าย เกสรผู้จำนวนมากเรียงเป็น 2 วง ผลเป็นผลสดลักษณะเป็นกาบอวบน้ำห่อกันเป็นทรงกลม ขนาด 5-6 ซม.
-
ไม้ต้นสูงได้ถึง 30 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กลับหรือรูปรี กว้าง 7-12 ซม. ยาว 10-20 ซม. โคนและปลายใบมน เส้นใบเรียงขนานกันชัดเจน ดอกสีเหลืองขนาดใหญ่ ออกเดี่ยวที่ปลายยอด ขนาด 8-12 ซม. กลีบรองดอกสีเขียวติดคงทน กลีบดอก 5 กลีบ กว้าง 4-6 ซม. ยาว 7 ซม. หลุดร่วงง่าย เกสรผู้จำนวนมากเรียงเป็น 2 วง ผลเป็นผลสดลักษณะเป็นกาบอวบน้ำห่อกันเป็นทรงกลม ขนาด 5-6 ซม.
การกระจายพันธุ์ :
-
พบขึ้นกระจายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบทุกภาคตามป่าดิบแล้ง ป่าผลัดใบ ป่าเต็งรังและทุ่งหญ้า ที่ระดับใกล้น้ำทะเลจนถึงระดับความสูง 1,200 ม.
-
พบขึ้นกระจายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบทุกภาคตามป่าดิบแล้ง ป่าผลัดใบ ป่าเต็งรังและทุ่งหญ้า ที่ระดับใกล้น้ำทะเลจนถึงระดับความสูง 1,200 ม.
-
พบขึ้นกระจายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบทุกภาคตามป่าดิบแล้ง ป่าผลัดใบ ป่าเต็งรังและทุ่งหญ้า ที่ระดับใกล้น้ำทะเลจนถึงระดับความสูง 1,200 ม.
-
พบขึ้นกระจายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบทุกภาคตามป่าดิบแล้ง ป่าผลัดใบ ป่าเต็งรังและทุ่งหญ้า ที่ระดับใกล้น้ำทะเลจนถึงระดับความสูง 1,200 ม.
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำอุทยานแห่งชาติแหลมสน-ปากแม่น้ำกระบุรี-ปากคลองกะเปอร์
-
ผาแต้ม
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเลนคลองม่วงกลวง
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
-
อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำพอง
-
อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
-
อุทยานแห่งชาติ ภูจอง-นายอย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร
-
ยโสธร,อำนาจเจริญ,อุบลราชธานี
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุบลราชธานี
-
ระนอง
-
อุบลราชธานี
-
เชียงราย
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
ลำปาง
-
พะเยา
-
เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
-
ชัยภูมิ
-
แม่ฮ่องสอน
-
ขอนแก่น, ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
อุบลราชธานี
-
พะเยา, เชียงราย
-
กระบี่, สุราษฎร์ธานี
-
เชียงใหม่
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
ลำพูน, ลำปาง
-
ลำพูน, ลำปาง
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
พังงา
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
ศรีสะเกษ
-
ชัยภูมิ
-
เลย
-
พิษณุโลก
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ลำปาง
-
ชุมพร
-
พื้นที่ลุ่มน้ำลำเซบาย
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร,สมุนไพร,ที่อยู่อาศัย,เนื้อไม้ใช้ทำกระดาน เครื่องตกแต่งบ้าน ผลสุกรับประทานได้ น้ำต้มเปลือกต้นปรุงเป็นยาฝาดสมานและแก้ท้องเสีย กลีบเลี้ยงผลมีรสเปรี้ยว ใช้ปรุงรสอาหาร
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
กรมป่าไม้
-
ป่าทามลำเซบาย, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สมาคมภูมินิเวศพัฒนาอย่างยั่งยืน, 2559
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |