ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
ไม้ต้น
-
ลำต้น : เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 10-25 เมตร ในบางพื้นที่อาจพบสูงกว่า 40 เมตร ลำต้น บิดงอ เรือนยอดเป็นพุ่มแผ่กว้าง รูปทรงกรวยหรือรูปร่ม เปลือกเรียบสีน้ำตาลอมเทา แตกเป็นสะเก็ดหนา ๆ
ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ ออกเรียงสลับ ใบย่อยรูปรี โคนใบมนปลายใบมีหางสั้น ขอบใบเรียบ เนื้อใบค่อนข้างหนา ใบอ่อนมีขนเล็กน้อย
ดอก : แยกแขนงออกที่ง่ามใบและปลายกิ่ง สีเหลืองอมเขียว
ผล : มีลักษณะเป็นทรงกลมหรือรูปไข่ปลายติ่งแหลม แข็ง ผลดิบมีสีเขียว และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเมื่อสุก เนื้อในมีสีเหลืองส้ม ลักษณะเนื้อเป็นเยื่อหุ้มเมล็ด แต่ละผลมี 1-2 เมล็ด
ระยะเวลาออกดอกและติดผล : ออกดอกและผลเป็นช่อตามซอกใบและปลายกิ่ง ช่วงออกดอกประมาณเดือนมีนาคม-เมษายน ออกผลเดือนมีนาคม-กรกฎาคม
ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ ออกเรียงสลับ ใบย่อยรูปรี โคนใบมนปลายใบมีหางสั้น ขอบใบเรียบ เนื้อใบค่อนข้างหนา ใบอ่อนมีขนเล็กน้อย
ดอก : แยกแขนงออกที่ง่ามใบและปลายกิ่ง สีเหลืองอมเขียว
ผล : มีลักษณะเป็นทรงกลมหรือรูปไข่ปลายติ่งแหลม แข็ง ผลดิบมีสีเขียว และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเมื่อสุก เนื้อในมีสีเหลืองส้ม ลักษณะเนื้อเป็นเยื่อหุ้มเมล็ด แต่ละผลมี 1-2 เมล็ด
ระยะเวลาออกดอกและติดผล : ออกดอกและผลเป็นช่อตามซอกใบและปลายกิ่ง ช่วงออกดอกประมาณเดือนมีนาคม-เมษายน ออกผลเดือนมีนาคม-กรกฎาคม
-
ลำต้น : เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 10-25 เมตร ในบางพื้นที่อาจพบสูงกว่า 40 เมตร ลำต้น บิดงอ เรือนยอดเป็นพุ่มแผ่กว้าง รูปทรงกรวยหรือรูปร่ม เปลือกเรียบสีน้ำตาลอมเทา แตกเป็นสะเก็ดหนา ๆ
ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ ออกเรียงสลับ ใบย่อยรูปรี โคนใบมนปลายใบมีหางสั้น ขอบใบเรียบ เนื้อใบค่อนข้างหนา ใบอ่อนมีขนเล็กน้อย
ดอก : แยกแขนงออกที่ง่ามใบและปลายกิ่ง สีเหลืองอมเขียว
ผล : มีลักษณะเป็นทรงกลมหรือรูปไข่ปลายติ่งแหลม แข็ง ผลดิบมีสีเขียว และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเมื่อสุก เนื้อในมีสีเหลืองส้ม ลักษณะเนื้อเป็นเยื่อหุ้มเมล็ด แต่ละผลมี 1-2 เมล็ด
ระยะเวลาออกดอกและติดผล : ออกดอกและผลเป็นช่อตามซอกใบและปลายกิ่ง ช่วงออกดอกประมาณเดือนมีนาคม-เมษายน ออกผลเดือนมีนาคม-กรกฎาคม
ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ ออกเรียงสลับ ใบย่อยรูปรี โคนใบมนปลายใบมีหางสั้น ขอบใบเรียบ เนื้อใบค่อนข้างหนา ใบอ่อนมีขนเล็กน้อย
ดอก : แยกแขนงออกที่ง่ามใบและปลายกิ่ง สีเหลืองอมเขียว
ผล : มีลักษณะเป็นทรงกลมหรือรูปไข่ปลายติ่งแหลม แข็ง ผลดิบมีสีเขียว และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเมื่อสุก เนื้อในมีสีเหลืองส้ม ลักษณะเนื้อเป็นเยื่อหุ้มเมล็ด แต่ละผลมี 1-2 เมล็ด
ระยะเวลาออกดอกและติดผล : ออกดอกและผลเป็นช่อตามซอกใบและปลายกิ่ง ช่วงออกดอกประมาณเดือนมีนาคม-เมษายน ออกผลเดือนมีนาคม-กรกฎาคม
-
ลำต้น : เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 10-25 เมตร ในบางพื้นที่อาจพบสูงกว่า 40 เมตร ลำต้น บิดงอ เรือนยอดเป็นพุ่มแผ่กว้าง รูปทรงกรวยหรือรูปร่ม เปลือกเรียบสีน้ำตาลอมเทา แตกเป็นสะเก็ดหนา ๆ
ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ ออกเรียงสลับ ใบย่อยรูปรี โคนใบมนปลายใบมีหางสั้น ขอบใบเรียบ เนื้อใบค่อนข้างหนา ใบอ่อนมีขนเล็กน้อย
ดอก : แยกแขนงออกที่ง่ามใบและปลายกิ่ง สีเหลืองอมเขียว
ผล : มีลักษณะเป็นทรงกลมหรือรูปไข่ปลายติ่งแหลม แข็ง ผลดิบมีสีเขียว และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเมื่อสุก เนื้อในมีสีเหลืองส้ม ลักษณะเนื้อเป็นเยื่อหุ้มเมล็ด แต่ละผลมี 1-2 เมล็ด
ระยะเวลาออกดอกและติดผล : ออกดอกและผลเป็นช่อตามซอกใบและปลายกิ่ง ช่วงออกดอกประมาณเดือนมีนาคม-เมษายน ออกผลเดือนมีนาคม-กรกฎาคม
ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ ออกเรียงสลับ ใบย่อยรูปรี โคนใบมนปลายใบมีหางสั้น ขอบใบเรียบ เนื้อใบค่อนข้างหนา ใบอ่อนมีขนเล็กน้อย
ดอก : แยกแขนงออกที่ง่ามใบและปลายกิ่ง สีเหลืองอมเขียว
ผล : มีลักษณะเป็นทรงกลมหรือรูปไข่ปลายติ่งแหลม แข็ง ผลดิบมีสีเขียว และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเมื่อสุก เนื้อในมีสีเหลืองส้ม ลักษณะเนื้อเป็นเยื่อหุ้มเมล็ด แต่ละผลมี 1-2 เมล็ด
ระยะเวลาออกดอกและติดผล : ออกดอกและผลเป็นช่อตามซอกใบและปลายกิ่ง ช่วงออกดอกประมาณเดือนมีนาคม-เมษายน ออกผลเดือนมีนาคม-กรกฎาคม
-
ลำต้น : เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 10-25 เมตร ในบางพื้นที่อาจพบสูงกว่า 40 เมตร ลำต้น บิดงอ เรือนยอดเป็นพุ่มแผ่กว้าง รูปทรงกรวยหรือรูปร่ม เปลือกเรียบสีน้ำตาลอมเทา แตกเป็นสะเก็ดหนา ๆ
ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ ออกเรียงสลับ ใบย่อยรูปรี โคนใบมนปลายใบมีหางสั้น ขอบใบเรียบ เนื้อใบค่อนข้างหนา ใบอ่อนมีขนเล็กน้อย
ดอก : แยกแขนงออกที่ง่ามใบและปลายกิ่ง สีเหลืองอมเขียว
ผล : มีลักษณะเป็นทรงกลมหรือรูปไข่ปลายติ่งแหลม แข็ง ผลดิบมีสีเขียว และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเมื่อสุก เนื้อในมีสีเหลืองส้ม ลักษณะเนื้อเป็นเยื่อหุ้มเมล็ด แต่ละผลมี 1-2 เมล็ด
ระยะเวลาออกดอกและติดผล : ออกดอกและผลเป็นช่อตามซอกใบและปลายกิ่ง ช่วงออกดอกประมาณเดือนมีนาคม-เมษายน ออกผลเดือนมีนาคม-กรกฎาคม
ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ ออกเรียงสลับ ใบย่อยรูปรี โคนใบมนปลายใบมีหางสั้น ขอบใบเรียบ เนื้อใบค่อนข้างหนา ใบอ่อนมีขนเล็กน้อย
ดอก : แยกแขนงออกที่ง่ามใบและปลายกิ่ง สีเหลืองอมเขียว
ผล : มีลักษณะเป็นทรงกลมหรือรูปไข่ปลายติ่งแหลม แข็ง ผลดิบมีสีเขียว และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเมื่อสุก เนื้อในมีสีเหลืองส้ม ลักษณะเนื้อเป็นเยื่อหุ้มเมล็ด แต่ละผลมี 1-2 เมล็ด
ระยะเวลาออกดอกและติดผล : ออกดอกและผลเป็นช่อตามซอกใบและปลายกิ่ง ช่วงออกดอกประมาณเดือนมีนาคม-เมษายน ออกผลเดือนมีนาคม-กรกฎาคม
-
ลำต้น : เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 10-25 เมตร ในบางพื้นที่อาจพบสูงกว่า 40 เมตร ลำต้น บิดงอ เรือนยอดเป็นพุ่มแผ่กว้าง รูปทรงกรวยหรือรูปร่ม เปลือกเรียบสีน้ำตาลอมเทา แตกเป็นสะเก็ดหนา ๆ
ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ ออกเรียงสลับ ใบย่อยรูปรี โคนใบมนปลายใบมีหางสั้น ขอบใบเรียบ เนื้อใบค่อนข้างหนา ใบอ่อนมีขนเล็กน้อย
ดอก : แยกแขนงออกที่ง่ามใบและปลายกิ่ง สีเหลืองอมเขียว
ผล : มีลักษณะเป็นทรงกลมหรือรูปไข่ปลายติ่งแหลม แข็ง ผลดิบมีสีเขียว และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเมื่อสุก เนื้อในมีสีเหลืองส้ม ลักษณะเนื้อเป็นเยื่อหุ้มเมล็ด แต่ละผลมี 1-2 เมล็ด
ระยะเวลาออกดอกและติดผล : ออกดอกและผลเป็นช่อตามซอกใบและปลายกิ่ง ช่วงออกดอกประมาณเดือนมีนาคม-เมษายน ออกผลเดือนมีนาคม-กรกฎาคม
ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ ออกเรียงสลับ ใบย่อยรูปรี โคนใบมนปลายใบมีหางสั้น ขอบใบเรียบ เนื้อใบค่อนข้างหนา ใบอ่อนมีขนเล็กน้อย
ดอก : แยกแขนงออกที่ง่ามใบและปลายกิ่ง สีเหลืองอมเขียว
ผล : มีลักษณะเป็นทรงกลมหรือรูปไข่ปลายติ่งแหลม แข็ง ผลดิบมีสีเขียว และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเมื่อสุก เนื้อในมีสีเหลืองส้ม ลักษณะเนื้อเป็นเยื่อหุ้มเมล็ด แต่ละผลมี 1-2 เมล็ด
ระยะเวลาออกดอกและติดผล : ออกดอกและผลเป็นช่อตามซอกใบและปลายกิ่ง ช่วงออกดอกประมาณเดือนมีนาคม-เมษายน ออกผลเดือนมีนาคม-กรกฎาคม
-
ใบ - เป็นใบประกอบแบบขนนก ปลายใบออกเป็นคู่ออกเรียงเวียนสลับเป็นกลุ่มตามปลายกิ่ง ใบย่อยติดเรียงตรงข้ามหรืออาจเยื้องกันเล็กน้อยประมาณ 1-4 คู่ โดยใบคู่ปลายสุดของช่อใบจะมีขนาดใหญ่และยาวที่สุด ลักษณะของใบย่อยเป็นรูปรี หรือรูปรีขอบขนาน ปลายใบมนหรือหยัก มีหางสั้นๆ หรือติ่งสั้นๆ โคนใบมนหรือสอบและมักเบี้ยว ส่วนขอบใบเรียบเป็นคลื่น ใบมีขนาดกว้างประมาณ 4.5-12 เซนติเมตร และยาวประมาณ 8-25 เซนติเมตร แผ่นใบค่อนข้างหนาเรียบและเป็นคลื่นเล็กน้อย มองเห็นเส้นใบได้ชัดเจน เส้นแขนงใบมีประมาณ 8-16 คู่ ปลายเส้นจรดกันก่อนถึงขอบใบ ก้านใบย่อยจะสั้นมาก ส่วนก้านช่อใบยาวประมาณ 5-10 เซนติเมตร โดยใบอ่อนมีขนเล็กน้อยตามเส้นใบ
ดอก - ออกดอกเป็นช่อปลายยอดหรือตามซอกใบ ช่อดอกมีความยาวประมาณ 20-30 เซนติเมตร และช่อดอกมีลักษณะเป็นพวงแบบหางกระรอกห้อยลง ดอกย่อยมีขนาดเล็กเป็นสีขาวหรือสีเหลืองอ่อนๆ กลีบเลี้ยงหรือกลีบรวมมีขนาดเล็กมาก มีแฉกแหลม 5 แฉก ดอกไม่มีกลีบดอก มีเกสรเพศผู้ประมาณ 6-8 ก้าน ส่วนรังไข่มีลักษณะกลมและมี 3 ช่อง ในแต่ละช่องจะมีออวุล 1 ออวุล เกสรเพศเมียส่วนปลายแยกเป็นแฉก 3 แฉก โดยจะออกดอกในช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน
ผล - ลักษณะของผลเป็นรูปทรงกลม มีขนาดประมาณ 2-3 เซนติเมตร ปลายผลเป็นจะงอยแหลมและแข็ง เปลือกผลหนาคล้ายแผ่นหนัง ผิวผลเกลี้ยงเป็นสีเขียวอมน้ำตาลหรือเป็นสีน้ำตาล ภายในผลมีเมล็ด 1-2 เมล็ด มีเนื้อหุ้มเมล็ดใสสีเหลือง ลักษณะฉ่ำน้ำ และมีรสเปรี้ยว ใช้รับประทานได้ โดยจะออกผลในช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนกรกฎาคม
ดอก - ออกดอกเป็นช่อปลายยอดหรือตามซอกใบ ช่อดอกมีความยาวประมาณ 20-30 เซนติเมตร และช่อดอกมีลักษณะเป็นพวงแบบหางกระรอกห้อยลง ดอกย่อยมีขนาดเล็กเป็นสีขาวหรือสีเหลืองอ่อนๆ กลีบเลี้ยงหรือกลีบรวมมีขนาดเล็กมาก มีแฉกแหลม 5 แฉก ดอกไม่มีกลีบดอก มีเกสรเพศผู้ประมาณ 6-8 ก้าน ส่วนรังไข่มีลักษณะกลมและมี 3 ช่อง ในแต่ละช่องจะมีออวุล 1 ออวุล เกสรเพศเมียส่วนปลายแยกเป็นแฉก 3 แฉก โดยจะออกดอกในช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน
ผล - ลักษณะของผลเป็นรูปทรงกลม มีขนาดประมาณ 2-3 เซนติเมตร ปลายผลเป็นจะงอยแหลมและแข็ง เปลือกผลหนาคล้ายแผ่นหนัง ผิวผลเกลี้ยงเป็นสีเขียวอมน้ำตาลหรือเป็นสีน้ำตาล ภายในผลมีเมล็ด 1-2 เมล็ด มีเนื้อหุ้มเมล็ดใสสีเหลือง ลักษณะฉ่ำน้ำ และมีรสเปรี้ยว ใช้รับประทานได้ โดยจะออกผลในช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนกรกฎาคม
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูงประมาณ 25 เมตร ใบ ประกอบแบบขนนกปลายคู่ เรียงสลับใบย่อย 2-4 คู่ ใบย่อยคู่บนขนาดใหญ่กว่าคู่ล่าง รูปไข่หรือแกมรี กว้าง 4-12 เซนติเมตรยาว 8-20 เซนติเมตร ปลายเรียวแหลม โคนไม่สมมาตรทู่ ดอก แบบช่อแยกแขนงออกที่ปลายกิ่งหรือซอกใบ ดอกย่อยแยกเพศขนาดเล็ก จำนวนมาก สีเขียวอ่อนหรือแกมเหลือง ดอกเพศผู้ กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกัน ปลายแยก 4-6 กลีบ มีขนหรือต่อม ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ 5-9 เกสร ก้านชูอับเรณมีขน ดอกเพศเมีย รังไข่เหนือวงกลีบ มีขนยาว ผล แบบผลมีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ด รูปรีหรือรูปไข่ เส้นผ่าน ศูนย์กลาง 1.5 - 2.5 เซนติเมตร สีเขียวสดแล้วเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล ปลายเป็น ติงแหลม มี 1-2 เมล็ด
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 40 ม. ปลายยอดเป็นติ่งคล้ายหูใบ ใบประกอบปลายคู่ มีใบย่อย 2-4 คู่ ก้านยาว 2-6 ซม. ใบย่อยรูปรีหรือรูปไข่กลับ ยาว 4.5-25 ซม. โคนเบี้ยว แผ่นใบด้านล่างมีขน ก้านใบยาว 1-3 มม. บวม ใบอ่อนสีน้ำตาลแดงหรืออมม่วง ช่อดอกคล้ายช่อกระจุกไม่แยกแขนง ออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกระจุกเหนือรอยแผลใบ ยาว 6-15 ซม. ดอกมีเพศเดียว กลีบเลี้ยง 4-6 กลีบ ไม่มีกลีบดอก จานฐานดอกรูปวงแหวน ช่อดอกเพศผู้แตกแขนง ก้านดอกยาวประมาณ 5 มม. กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันที่โคน กลีบรูปไข่ ยาวประมาณ 1.5 มม. มีขนหรือต่อมกระจาย เกสรเพศผู้ 5-9 อัน ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 2 มม. มีขน ลดรูปในดอกเพศเมีย ช่อดอกเพศเมียส่วนมากไม่แตกแขนง รังไข่มีขนยาว ก้านเกสรเพศเมียหนา ยาวประมาณ 1.5 มม. ผลรูปรีเกือบกลม ยาว 1.5-2.5 ซม. ปลายมีติ่งแหลม มี 1-2 เมล็ด กลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 ซม. มีเยื่อหุ้มสดสีเหลืองอมน้ำตาล
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูงถึง 25 เมตร ใบ เป็นใบประกอบแบบ ขนนก มีใบย่อย 2-4 คู่ ใบย่อยคู่บนขนาดใหญ่กว่าคู่ล่าง รูปไข่หรือ แกมรี ปลายใบเรียวแหลม โคนใบไม่สมมาตรถึงทู่ ดอก สีเขียวอ่อน หรือแกมเหลือง ออกเป็นช่อห้อยลงจากปลายกิ่งหรือซอกใบ ยาวถึง 20 ซม. ดอกย่อยขนาดเล็ก กลีบรองดอกรูปไข่ถึงรูป สามเหลี่ยม มี 4-6 กลีบ ไม่มีกลีบดอก เกสรผู้ 5-9 อัน ยาวพ้นกลีบดอก ผล รูปทรงกลมหรือรูปไข่ กว้าง 1.5-2.5 ซม. สีเขียวสดแล้วเปลี่ยน เป็นสีน้ำตาล ปลายผลเป็นติ่งแหลม มี 1-2 เมล็ด
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูงถึง 25 เมตร ใบ เป็นใบประกอบแบบ ขนนก มีใบย่อย 2-4 คู่ ใบย่อยคู่บนขนาดใหญ่กว่าคู่ล่าง รูปไข่หรือ แกมรี ปลายใบเรียวแหลม โคนใบไม่สมมาตรถึงทู่ ดอก สีเขียวอ่อน หรือแกมเหลือง ออกเป็นช่อห้อยลงจากปลายกิ่งหรือซอกใบ ยาวถึง 20 ซม. ดอกย่อยขนาดเล็ก กลีบรองดอกรูปไข่ถึงรูป สามเหลี่ยม มี 4-6 กลีบ ไม่มีกลีบดอก เกสรผู้ 5-9 อัน ยาวพ้นกลีบดอก ผล รูปทรงกลมหรือรูปไข่ กว้าง 1.5-2.5 ซม. สีเขียวสดแล้วเปลี่ยน เป็นสีน้ำตาล ปลายผลเป็นติ่งแหลม มี 1-2 เมล็ด
-
เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ มีความสูงของต้นประมาณ 15-25 เมตร แตกกิ่งก้านต่ำ เรือนยอดมีลักษณะเป็นทรงพุ่มแผ่กว้าง กิ่งก้านมักคดงอ ลำต้นเป็นปุ่มปมและพูพอน เปลือกลำต้นเป็นสีน้ำตาลแดงหรือเป็นสีน้ำตาลเทา เปลือกแตกเป็นสะเก็ดหนา
-
ออกดอกเดือนมกราคม - เมษายน ติดผลเดือนมีนาคม - กรกฎาคม
ระบบนิเวศ :
-
ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าเต็งรัง ความสูงถึงประมาณ 900 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
อินเดีย ถึงเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบเกือบทุกภาค ตามป่าผลัดใบหรือป่า ผลัดใบผสม ที่ระดับความสูงถึง 1,200 เมตร ออกดอกช่วงเดือน มกราคม-เมษายน ติดผลช่วงเดือนมีนาคม-กรกฎาคม
-
อินเดีย ถึงเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบเกือบทุกภาค ตามป่าผลัดใบหรือป่า ผลัดใบผสม ที่ระดับความสูงถึง 1,200 เมตร ออกดอกช่วงเดือน มกราคม-เมษายน ติดผลช่วงเดือนมีนาคม-กรกฎาคม
-
อินเดียถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศไทยพบเกือบทุกภาคตามป่าผลัดใบหรือป่าผลัดใบผสม ที่ระดับความสูงถึง 1,200 เมตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
แพร่,น่าน
-
พะเยา,น่าน
-
เชียงใหม่
-
อุบลราชธานี
-
เพชรบุรี
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
อุตรดิตถ์
-
เชียงราย
-
ลำปาง
-
ลำปาง
-
พะเยา, เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
กาญจนบุรี
-
อุบลราชธานี
-
เชียงราย
-
เพชรบูรณ์
-
นครศรีธรรมราช
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
กำแพงเพชร
-
ลำปาง
-
ราชบุรี
-
ลำพูน, ลำปาง
-
ลำปาง, ลำพูน
-
ลำปาง, ลำพูน
-
พะเยา
-
เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
-
สตูล
-
ตาก
-
ชัยภูมิ
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
-
เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
อุดรธานี, เลย, หนองคาย
-
ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
แม่ฮ่องสอน
-
ขอนแก่น, ชัยภูมิ
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
สุพรรณบุรี
-
เลย
-
เลย
-
พะเยา, เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
มุกดาหาร
-
สกลนคร, กาฬสินธุ์
-
สกลนคร, กาฬสินธุ์
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ขอนแก่น
-
ขอนแก่น
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
เลย
-
เชียงราย, พะเยา
-
ลำปาง, แพร่
-
ลำปาง, ตาก
-
ลำปาง, ตาก
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
สุโขทัย
-
สุโขทัย
-
ตาก
-
น่าน
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
สุโขทัย
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
ตรัง, สตูล
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
นครศรีธรรมราช
-
นครศรีธรรมราช
-
ชลบุรี
-
ชลบุรี
-
กำแพงเพชร
-
กำแพงเพชร
-
กำแพงเพชร
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
บุรีรัมย์
-
บุรีรัมย์
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
ลำพูน, ลำปาง
-
ลำพูน, ลำปาง
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่
-
แพร่
-
แพร่
-
แพร่
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
เลย
-
เลย
-
เลย
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
พิษณุโลก
-
กาฬสินธุ์
-
เลย, เพชรบูรณ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
ราชบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
พะเยา
-
พะเยา
-
พะเยา
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
ลำปาง
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
ป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน
-
สุรินทร์
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
-
อำเภอเชียงคำ อำเภอปง พะเยา, อำเภอสองแคว น่าน
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
ผาแต้ม
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขากระปุก-เขาเตาหม้อ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาใหญ่-เขาหน้าผาตั้งและเขาตาพรม
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอนศิลา
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ลุ่มน้ำปายฝั่งซ้าย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ลุ่มน้ำปายฝั่งซ้าย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า อุทยานสมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรี
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
-
อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
-
อุทยานแห่งชาติ เขานัน
-
อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
-
อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
-
อุทยานแห่งชาติ เฉลิมพระเกียรติไทยประจัน
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ตะรุเตา
-
อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำปลา-น้ำตกผาเสื่อ
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ นายูง-น้ำโสม
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำพอง
-
อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
-
อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
-
อุทยานแห่งชาติ พุเตย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
-
อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
-
อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
-
อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
-
อุทยานแห่งชาติ ภูเวียง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูเวียง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ยม
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
-
อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
-
อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
-
อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีน่าน
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
-
อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
-
อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
-
อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะเภตรา
-
อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
-
อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
สุรินทร์
-
บ้านทำนบ หมู่ที่ 4 ต.กันตวจระมวล อ.ปราสาท จ.สุรินทร์
การขยายพันธุ์ :
-
พบตามป่าผลัดใบหรือป่าผลัดใบผสม ปกติขึ้นตามเชิงเขาทั่วไป แต่ยังสามารถพบที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลถึง 900-1,200 เมตร พบมากในประเทศอินเดีย ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยสามารถพบได้ในภาคต่าง ๆ ทั่วประเทศขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด
-
พบตามป่าผลัดใบหรือป่าผลัดใบผสม ปกติขึ้นตามเชิงเขาทั่วไป แต่ยังสามารถพบที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลถึง 900-1,200 เมตร พบมากในประเทศอินเดีย ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยสามารถพบได้ในภาคต่าง ๆ ทั่วประเทศขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด
-
พบตามป่าผลัดใบหรือป่าผลัดใบผสม ปกติขึ้นตามเชิงเขาทั่วไป แต่ยังสามารถพบที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลถึง 900-1,200 เมตร พบมากในประเทศอินเดีย ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยสามารถพบได้ในภาคต่าง ๆ ทั่วประเทศขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด
-
พบตามป่าผลัดใบหรือป่าผลัดใบผสม ปกติขึ้นตามเชิงเขาทั่วไป แต่ยังสามารถพบที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลถึง 900-1,200 เมตร พบมากในประเทศอินเดีย ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยสามารถพบได้ในภาคต่าง ๆ ทั่วประเทศขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด
-
พบตามป่าผลัดใบหรือป่าผลัดใบผสม ปกติขึ้นตามเชิงเขาทั่วไป แต่ยังสามารถพบที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลถึง 900-1,200 เมตร พบมากในประเทศอินเดีย ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยสามารถพบได้ในภาคต่าง ๆ ทั่วประเทศขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด
-
เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร,สมุนไพร,เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย,งานศิลปะ,ผลรับประทานได้
-
ราก เปลือกราก หรือทั้งห้าส่วนเป็นยาแก้กษัย ใช้ใบเป็นยาแก้ไข้ โดยใบแก่นำมาขยี้กับน้ำแล้วนำมาเช็ดตัว เนื้อผลเป็นยาระบาย รับประมานมากไปจะทำให้ท้องเสียได้ เปลือกต้นเป็นยาสมานท้อง ช่วยแก้อาการท้องร่วง บ้างว่าใช้แก้บิด มูกเลือดได้ด้วย โดยนำเปลือกต้นมาตำกิน เปลือกต้นตะคร้อนำมาแช่กับน้ำดื่มแก้อาการท้องเสีย โดยใช้ร่วมกับเปลือกต้นมะกอก เปลือกต้นเป๋ยเบาะ เปลือกต้นตะคร้ำ ช่วยขับปัสสาวะ ทั้งห้าส่วนเป็นยาแก้ริดสีดวงภายนอกและภายใน น้ำต้มจากเปลือกต้นตะคร้อช่วยรักษาอาการปวดประจำเดือนได้ ใบใช้ตำพอกรักษาฝี
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น (Dry and Sub-humid Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
โครงการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนในท้องถิ่น, กองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
หนังสือ พรรณไม้มีคุณค่าจากป่าสาธารณะประโยชน์ บ้านทำนบ, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
ทรัพยากรธรรมชาติของคนชายโขง, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
ป่าชุมชน บ.ทุ่ง ต.แจ้ซ้อน อ.เมืองปาน
-
มูลนิธิสวนหลวง ร.9
-
IUCN Red List
-
พืชสมุนไพร ป่าชุมชนตะลุมพุก, โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ พื้นที่รอบป่ามรดกโลก "ดงพญาเย็น-เขาใหญ่" ฝั่งตะวันออก, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช