ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้นผลัดใบ สูง 15-25 ม. ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงแบบเวียน ใบย่อย กว้าง 1-2 ซม. ยาว 1.5-3.5 ซม. โคนเบี้ยว ด้านบนสีเขียวอมเทา ด้านล่างสีอ่อนกว่ามีนวลเล็กน้อย ช่อดอกยาว 7.5-20 ซม. ดอกสีเหลืองอ่อน ก้านดอกเกลี้ยง กลีบดอกขนาด 3-4.5 มม. ฝักโค้ง กว้าง 1.2-1.6 ซม. ออกดอกเดือน เม.ย.-มิ.ย.
- ไม้ต้นผลัดใบ สูง 15-25 ม. ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงแบบเวียน ใบย่อย กว้าง 1-2 ซม. ยาว 1.5-3.5 ซม. โคนเบี้ยว ด้านบนสีเขียวอมเทา ด้านล่างสีอ่อนกว่ามีนวลเล็กน้อย ช่อดอกยาว 7.5-20 ซม. ดอกสีเหลืองอ่อน ก้านดอกเกลี้ยง กลีบดอกขนาด 3-4.5 มม. ฝักโค้ง กว้าง 1.2-1.6 ซม. ออกดอกเดือน เม.ย.-มิ.ย.
- ไม้ต้นผลัดใบ สูง 15-25 ม. ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงแบบเวียน ใบย่อย กว้าง 1-2 ซม. ยาว 1.5-3.5 ซม. โคนเบี้ยว ด้านบนสีเขียวอมเทา ด้านล่างสีอ่อนกว่ามีนวลเล็กน้อย ช่อดอกยาว 7.5-20 ซม. ดอกสีเหลืองอ่อน ก้านดอกเกลี้ยง กลีบดอกขนาด 3-4.5 มม. ฝักโค้ง กว้าง 1.2-1.6 ซม. ออกดอกเดือน เม.ย.-มิ.ย.
- ไม้ต้นผลัดใบ สูง 15-25 ม. ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงแบบเวียน ใบย่อย กว้าง 1-2 ซม. ยาว 1.5-3.5 ซม. โคนเบี้ยว ด้านบนสีเขียวอมเทา ด้านล่างสีอ่อนกว่ามีนวลเล็กน้อย ช่อดอกยาว 7.5-20 ซม. ดอกสีเหลืองอ่อน ก้านดอกเกลี้ยง กลีบดอกขนาด 3-4.5 มม. ฝักโค้ง กว้าง 1.2-1.6 ซม. ออกดอกเดือน เม.ย.-มิ.ย.
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุตรดิตถ์,แพร่
- เชียงใหม่
- สระบุรี
- สระบุรี
- สุราษฎร์ธานี
- พิษณุโลก
- นครราชสีมา
- เพชรบูรณ์
- ระยอง, จันทบุรี
- อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
- อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
- ประจวบคีรีขันธ์
- ระยอง
- ลำปาง
- พะเยา
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
- ปัตตานี
- ชัยภูมิ
- เลย
- เลย
- มุกดาหาร
- สกลนคร, กาฬสินธุ์
- เลย
- ลำปาง, ตาก
- ตาก
- ตาก
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- กำแพงเพชร
- จันทบุรี
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- จันทบุรี
- ลพบุรี
- ลพบุรี
- พะเยา, น่าน
- พะเยา, น่าน
- สุโขทัย, ลำปาง
- สุโขทัย, ลำปาง
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- อุตรดิตถ์
- อุบลราชธานี
- ชัยภูมิ
- พิษณุโลก
- กาฬสินธุ์
- ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- อุบลราชธานี
- แพร่, อุตรดิตถ์
- พะเยา
- พะเยา
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- ศรีสะเกษ
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- ศรีสะเกษ
- ชุมพร
- ตาก
- ลำปาง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาท่าเพชร
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
- อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
- อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
- อุทยานแห่งชาติ เขาสามร้อยยอด
- อุทยานแห่งชาติ เขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด
- อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
- อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกทรายขาว
- อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
- อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
- อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
- อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
- อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
- อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
- อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- - ลำต้น : ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 15-20 เมตร ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มกลม ยอดอ่อนมีขนนุ่มเป็นมันคล้ายเส้นไหม เปลือกเรียบสีน้ำตาลปนเทา บางครั้งมีรอยแตกระแหงเล็กๆ โคนต้นเป็นพูพอนต่ำ
- ใบ : ประกอบแบบขนนกสองชั้น ปลายคี่ เรียงสลับ ยาว 15-40 ซม. ช่อแขนงด้านข้างมี 2-6 คู่ เรียงตรงข้าม ใบย่อย 7-15 คู่ เรียงสลับ ใบรูปรีแกมรูปขอบขนาน กว้าง 0.6-2.5 ซม. ยาว 2-5 ซม. ปลายใบมน โคนใบเบี้ยว ผิวใบด้านล่างสีนวลมีขน ขอบใบเรียบ เส้นแขนงใบข้างละ 8-10 เส้น ก้านใบย่อยยาว 1-2 มม.
- ดอก : ออกเป็นช่อกลมยาว ตามกิ่งและซอกใบ ก้านดอกสั้น สีเหลือง ขนาดเล็ก กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ ไม่มีขน ดอกบานเต็มที่กว้าง 4-6 มม.
- ผล : ฝักแห้งแตก ฝักแบนยาวสีน้ำตาลกว้าง 1.2 ซม. ยาว 12-20 ซม. ฝักแก่จะบิดงอ เมล็ด สีแดง รูปร่างแบนและกลมหรือรี มีหลายเมล็ด
- - ลำต้น : ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 15-20 เมตร ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มกลม ยอดอ่อนมีขนนุ่มเป็นมันคล้ายเส้นไหม เปลือกเรียบสีน้ำตาลปนเทา บางครั้งมีรอยแตกระแหงเล็กๆ โคนต้นเป็นพูพอนต่ำ
- ใบ : ประกอบแบบขนนกสองชั้น ปลายคี่ เรียงสลับ ยาว 15-40 ซม. ช่อแขนงด้านข้างมี 2-6 คู่ เรียงตรงข้าม ใบย่อย 7-15 คู่ เรียงสลับ ใบรูปรีแกมรูปขอบขนาน กว้าง 0.6-2.5 ซม. ยาว 2-5 ซม. ปลายใบมน โคนใบเบี้ยว ผิวใบด้านล่างสีนวลมีขน ขอบใบเรียบ เส้นแขนงใบข้างละ 8-10 เส้น ก้านใบย่อยยาว 1-2 มม.
- ดอก : ออกเป็นช่อกลมยาว ตามกิ่งและซอกใบ ก้านดอกสั้น สีเหลือง ขนาดเล็ก กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ ไม่มีขน ดอกบานเต็มที่กว้าง 4-6 มม.
- ผล : ฝักแห้งแตก ฝักแบนยาวสีน้ำตาลกว้าง 1.2 ซม. ยาว 12-20 ซม. ฝักแก่จะบิดงอ เมล็ด สีแดง รูปร่างแบนและกลมหรือรี มีหลายเมล็ด
การขยายพันธุ์ :
- โดยการเพาะเมล็ด
- โดยการเพาะเมล็ด
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Dry
Dry
Dry
Dry
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
COUNTRY CULTIVAR
gsno plantname ชนิดพันธุ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ เก็บที่จังหวัด
DOATR 00003 มะกล่ำตาช้าง Adenanthera pavonina ปทุมธานี
DOATR 00008 มะกล่ำตาช้าง Adenanthera pavonina อุบลราชธานี
DOATR 00025 มะกล่ำตาช้าง Adenanthera pavonina สุพรรณบุรี
DOATR 00054 มะกล่ำตาช้าง Adenanthera pavonina ปทุมธานี
gsno plantname ชนิดพันธุ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ เก็บที่จังหวัด