ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้น
- จัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง เรือนยอดของต้นหนาทึบ ลำต้นมักคดงอ มีความสูงของต้นได้ประมาณ 10-30 เมตร เปลือกลำต้นเป็นสีน้ำตาลอ่อน แตกเป็นร่องลึกตามแนวยาว ยอดอ่อนและกิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาล พรรณไม้ชนิดนี้มักพบขึ้นทั่วไปตามป่าเบญจพรรณชื้น ป่าดิบแล้งในทุกภาคของประเทศไทย ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ด
- จัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง เรือนยอดของต้นหนาทึบ ลำต้นมักคดงอ มีความสูงของต้นได้ประมาณ 10-30 เมตร เปลือกลำต้นเป็นสีน้ำตาลอ่อน แตกเป็นร่องลึกตามแนวยาว ยอดอ่อนและกิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาล พรรณไม้ชนิดนี้มักพบขึ้นทั่วไปตามป่าเบญจพรรณชื้น ป่าดิบแล้งในทุกภาคของประเทศไทย ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ด
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น ลำต้น: สูงได้ถึง 30 ม. ใบ: ใบประกอบแบบขนนก ใบย่อย 7-13 คู่ รูปใบหอกแกมรูปไข่ โคนใบเบี้ยว กว้าง 2-3.5 ซม. ยาว 7-16 ซม. ดอก: สีขาว แยกเพศอยู่ร่วมต้น ออกเป็นช่อ กลีบดอก 4 กลีบ ดอกเพศผู้ มีเกสรเพศผู้ 8 อัน มีขนที่ก้านชูอับเรณู รังไข่ในดอกเพศเมีย ผิวเรียบ ผล: รูปร่างค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 2 ซม.
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 เมตร ใบ ประกอบแบบขนนก ใบย่อย 7-13 คู่ รูปใบหอกแกมรูปไข่ โคนใบเบี้ยว กว้าง 2-3.5 ซม. ยาว 7-16 ซม. ดอก สีขาว แยกเพศอยู่ร่วมต้อน ออกเป็นช่อ กลีบดอก 4 กลีบ ดอกเพศผู้ มีเกสรเพศผู้ 8 อัน มีขนที่ก้านชูอับเรณู รังไข่ในดอกเพศเมีย ผิวเรียบ ผล รูปร่างค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 2 ซม.
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 เมตร ใบ ประกอบแบบขนนก ใบย่อย 7-13 คู่ รูปใบหอกแกมรูปไข่ โคนใบเบี้ยว กว้าง 2-3.5 ซม. ยาว 7-16 ซม. ดอก สีขาว แยกเพศอยู่ร่วมต้อน ออกเป็นช่อ กลีบดอก 4 กลีบ ดอกเพศผู้ มีเกสรเพศผู้ 8 อัน มีขนที่ก้านชูอับเรณู รังไข่ในดอกเพศเมีย ผิวเรียบ ผล รูปร่างค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 2 ซม.
ระบบนิเวศ :
- พบตามป่าดิบชื้น ที่ระดับความสูง 200-1,600 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
- พบตามป่าดิบชื้น ที่ระดับความสูง 200-1,600 เมตร
- พบตามป่าดิบชื้น ที่ระดับความสูง 200-1,600 เมตร
การขยายพันธุ์ :
- การเพาะเมล็ด
- การเพาะเมล็ด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- แม่ฮ่องสอน
- พะเยา, น่าน
- แม่ฮ่องสอน
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- พิษณุโลก
- ตาก
- ราชบุรี
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- พะเยา
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- ตาก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง