ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ยืนต้นขนาดกลาง ใบรูปขอบขนานค่อนข้างยาว ปลายใบแหลม โคนใบสอบชิดกิ่ง ช่อดอกเป็นกระจุกสีขาว กลีบดอกเล็กแหลมเรียว เวลาบานกลีบดอกมักจะโค้งงอลงข้างล่าง
การกระจายพันธุ์ :
- เข็มป่าพบได้ในป่าดงดิบชื้น ป่าเบญจวรรณ ออกดอกบานในหน้าแล้งต้นฝนบางกลุ่มออกดอกไปจนถึงปลายฝน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- พิษณุโลก
- สระบุรี
- สระแก้ว
- ลำปาง, ตาก
- นครศรีธรรมราช, สุราษฎร์ธานี
- กระบี่, ตรัง
- กระบี่, สุราษฎร์ธานี
- กระบี่, สุราษฎร์ธานี
- ชุมพร, ระนอง
- ชุมพร, ระนอง
- บุรีรัมย์
- พะเยา, น่าน
- แพร่
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- พังงา
- สุโขทัย, ลำปาง
- ระนอง, ชุมพร
- กาญจนบุรี, ตาก
- ชัยภูมิ
- บึงกาฬ
- เลย, เพชรบูรณ์
- ราชบุรี
- แพร่, อุตรดิตถ์
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- ตาก
- ลำปาง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาวงจันแดง
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ หาดขนอม-หมู่เกาะทะเลใต้
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งระยะ-นาสัก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- สรรพคุณตามตำราไทย ใบ แก้สะอึก ไม่ระบุส่วนที่ใช้ กระจายเสมหะ ขับผายลม แก้คลื่นเหียนอาเจียน กระจายลมที่ลั่นโครกครากในท้อง แก้จุกเสียด ลดกรดในท้อง ขับลมที่ปั่นป่วนอยู่รอบสะดือ เมล็ด แก้โรคลม แก้คลื่นไส้ แก้จุกเสียด กระจายลมที่ลั่นโครกครากในท้อง ขับลม กระจายเสมหะ