ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น สูง 10-20 ม. ใบประกอบแบบนิ้วมือ ออกตรงข้าม ใบย่อย 3-5 ใบ รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก กว้าง 4-7 ซม. ยาว 8-15 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ซอกใบหรือปลายกิ่ง ดอกรูปปากเปิด สีเหลืองอ่อน ผลทรงกลม เมื่อสุกสีดำ ออกดอกเดือน มี.ค.-พ.ค.
- ไม้พุ่มขนาดเล็ก
- ไม้ต้น สูง 10-20 ม. ใบประกอบแบบนิ้วมือ ออกตรงข้าม ใบย่อย 3-5 ใบ รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก กว้าง 4-7 ซม. ยาว 8-15 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ซอกใบหรือปลายกิ่ง ดอกรูปปากเปิด สีเหลืองอ่อน ผลทรงกลม เมื่อสุกสีดำ ออกดอกเดือน มี.ค.-พ.ค.
- ไม้ผลัดใบหรือกึ่งผลัดใบ สูงถึง 25 ม. แต่ขนาดมักจะเล็กกว่านนี้ เปลือกต้นสีเทาอ่อนเกลี้ยงหรือแตกตื้น ๆ หลุดออก เปลือกชั้นในสีส้มอ่อนอมครีม ใบประกอบ 3 ใบ ใบย่อย 8-17 ซม. ใบแก่บาง ด้านล่างเกลี้ยงมีขนห่าง ๆ และมีจุดสีเหลือง (ต่อมยาง) ก้านใบย่อยด้านข้าง 0.5-1.5 ซม. ก้านใบร่วม 5-9 ซม. มักจะมีปรกในต้นที่ยังอ่อนแต่ไม่มีปีกในต้นแก่ ดอก 0.7-1 ซม. สีขาว มีแต้มสีเหลืองหรือม่วง ช่อดอกแตกแขนงแคบ ๆ ออกในซอกใบหรือหลังใบ ช่อยาว 10-25 ซม. ก้านดอก 2-6 มม. ก้านเรียวมีกาบเล็ก ๆ ชั้นกลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีขนและมีจุดสีเหลืองมัน ๆ ด้านนอก ชั้นกลีบเลี้ยง -+2 มม. หลอดกลีบดอก -+4 มม. ปากล่างยาวกว่าหลอดกลีบ ผล 0.5-0.8 ซม. สีเขียวอมเหลือง สีแดงอมม่วงถึงดำ มีเนื้อและชั้นหุ้มเมล็ดแข็ง ภายในมี 4 เมล็ด
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม-เขตห้ามล่าสัตว์ป่าหมู่เกาะลิบง–ปากน้ำตรัง
- อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
- เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
- อำเภอเชียงคำ อำเภอปง พะเยา, อำเภอสองแคว น่าน
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- ผาแต้ม
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอนศิลา
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ลุ่มน้ำปายฝั่งซ้าย
- อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
- อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
- อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
- อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
- อุทยานแห่งชาติ เขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
- อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
- อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
- อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
- อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
- อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
- อุทยานแห่งชาติ เฉลิมพระเกียรติไทยประจัน
- อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
- อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
- อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
- อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกโยง
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
- อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
- อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
- อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
- อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
- อุทยานแห่งชาติ ภูเวียง
- อุทยานแห่งชาติ ภูเวียง
- อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
- อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
- อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
- อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
- อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
- อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
- อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
- อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
- อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
- อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะเภตรา
- อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
- อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุตรดิตถ์,แพร่
- แพร่,น่าน
- พะเยา,น่าน
- เชียงใหม่
- อุบลราชธานี
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- เชียงราย
- ลำปาง
- ลำปาง
- พะเยา, เชียงราย
- พะเยา, เชียงราย
- พะเยา, เชียงราย
- พะเยา, เชียงราย
- นครราชสีมา
- แม่ฮ่องสอน
- อุบลราชธานี
- อุบลราชธานี
- เชียงราย
- เพชรบูรณ์
- ระยอง
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- กำแพงเพชร
- กำแพงเพชร
- ลำปาง
- ลำปาง
- ราชบุรี
- ลำพูน, ลำปาง
- ลำพูน, ลำปาง
- ลำพูน, ลำปาง
- ลำปาง, ลำพูน
- ลำปาง, ลำพูน
- ลำปาง, ลำพูน
- พะเยา
- เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- ชัยภูมิ
- ตาก
- ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- นครศรีธรรมราช
- สระแก้ว
- อุบลราชธานี
- เลย
- เลย
- พะเยา, เชียงราย
- สกลนคร, กาฬสินธุ์
- ขอนแก่น
- ขอนแก่น
- เลย
- เลย
- เชียงราย, พะเยา
- เชียงราย, พะเยา
- ลำปาง, ตาก
- ลำปาง, ตาก
- เชียงใหม่
- สุโขทัย
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- ตรัง, สตูล
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- กระบี่, ตรัง
- กำแพงเพชร
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- จันทบุรี
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- บุรีรัมย์
- บุรีรัมย์
- พะเยา, น่าน
- พะเยา, น่าน
- พะเยา, น่าน
- พะเยา, น่าน
- ลำพูน, ลำปาง
- ลำพูน, ลำปาง
- ลำพูน, ลำปาง
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- อุตรดิตถ์
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- เลย
- เลย
- เพชรบูรณ์
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- บึงกาฬ
- บึงกาฬ
- เลย, เพชรบูรณ์
- ตาก
- ราชบุรี
- ราชบุรี
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- พะเยา
- พะเยา
- พะเยา
- พะเยา
- พะเยา
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- ศรีสะเกษ
- เชียงใหม่
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- ศรีสะเกษ
- เชียงใหม่
- ลำปาง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้น
- ต้นกาสามปีก จัดเป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงประมาณ 10-15 เมตร และอาจสูงได้ถึง 30 เมตร เปลือกต้นเป็นสีน้ำตาลอ่อนถึงสีน้ำตาลเข้มหรือดำ กิ่งอ่อนเป็นสี่เหลี่ยม มีขนอ่อนขึ้นประปราย ส่วนกิ่งแก่จะเกลี้ยงไม่มีขน ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ด ชอบแสงแดดจัด ขึ้นได้ดีในดินแทบทุกชนิด มีเขตการกระจายพันธุ์ในภาคเหนือของปากีสถาน อินเดีย ศรีลังกา พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และมาเลเซีย ส่วนในประเทศไทยพบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วทุกภาคของประเทศ โดยมักพบขึ้นในป่าเบญจพรรณชื้น ป่าดิบเขา ป่าดิบแล้ง ป่าเต็งรัง และป่าคืนสภาพ พบมากในป่าชายหาด บนพื้นที่สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 400-900 เมตร
ใบกาสามปีก ใบเป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ เรียงตรงข้าม มีใบย่อย 3 ใบ ก้านใบเรียว ยาวประมาณ 3.5-7 เซนติเมตร ด้านบนเรียบหรือเป็นร่องตื้น มีขอบเป็นสันชัดเจน ผิวเรียบหรือมีขนขึ้นประปราย ลักษณะของใบย่อยเป็นรูปขอบขนานถึงรูปรี หรือเป็นรูปคล้ายใบหอก ปลายใบเรียวแหลม โคนใบเรียวแหลม ส่วนขอบใบเรียบ แผ่นใบหนา ใบย่อยจะมีขนาดไม่เท่า โดยใบกลางจะมีขนาดกว้างประมาณ 1.5-5.5 เซนติเมตร และยาวประมาณ 4-17 เซนติเมตร ใบอ่อนมีขนสีน้ำตาลขึ้นประปราย ส่วนใบแก่ด้านบนจะเกลี้ยง ด้านล่างมีขนขึ้นตามเส้นกลางใบ ปลายเส้นแขนงใบโค้งจรดกัน เห็นได้ไม่ชัด ก้านใบย่อยยาวได้ประมาณ 0.1-1.2 เซนติเมตร
ดอกกาสามปีก ออกดอกเป็นช่อ โดยจะออกตามง่ามใบใกล้ปลายกิ่ง ออกเป็นช่อเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ มีขนาดกว้างประมาณ 3-6 เซนติเมตร และยาวประมาณ 8-25 เซนติเมตร แตกแขนงเป็นคู่ตรงข้ามหรือเกือบตรงข้ามกัน แต่ละแขนงจะแตกแขนงย่อยเป็นคู่ ๆ อีกประมาณ 1-3 คู่ ที่ปลายสุดของกิ่งจะเป็นช่อกระจุก ก้านช่อดอกยาวประมาณ 3-0.5 เซนติเมตร มีใบประดับติดเป็นคู่ตรงจุดที่แตกกิ่ง ยาวประมาณ 1-3 มิลลิเมตร ร่วงได้ง่าย ดอกกาสามปีกจะมีกลิ่นหอมอ่อน ๆ มีใบประดับย่อยขนาดเล็ก 1 คู่ ติดอยู่ใต้กลีบเลี้ยง ยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร กลีบเลี้ยงดอกมี 5 กลีบ โคนติดกันเป็นรูปกรวย สูงประมาณ 1.5-2.5 เซนติเมตร ที่ปลายแยกเป็นแฉกสามเหลี่ยมเล็ก 5 แฉก แฉกด้านล่างมักจะมีขนาดใหญ่กว่าแฉกอื่น ๆ กว้างได้ประมาณ 5 มิลลิเมตร ดอกมีเกสรเพศผู้ 4 อัน แบ่งเป็นอันยาว 2 อัน และสั้น 2 อัน ส่วนรังไข่มี 3-4 ช่อง
ผลกาสามปีก ผลมีลักษณะกลม มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5-8 มิลลิเมตร ฝาปิดขั้วผลมีขนาดกว้างประมาณ 1 ใน 4 ของตัวผล มีเนื้อหุ้มเมล็ดบาง ๆ ผลอ่อนเป็นสีเขียว เมื่อสุกจะเปลี่ยนเป็นสีแดง ภายในผลมีเมล็ด 1 เมล็ด เมล็ดแข็งมาก
- ต้นกาสามปีก จัดเป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงประมาณ 10-15 เมตร และอาจสูงได้ถึง 30 เมตร เปลือกต้นเป็นสีน้ำตาลอ่อนถึงสีน้ำตาลเข้มหรือดำ กิ่งอ่อนเป็นสี่เหลี่ยม มีขนอ่อนขึ้นประปราย ส่วนกิ่งแก่จะเกลี้ยงไม่มีขน ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ด ชอบแสงแดดจัด ขึ้นได้ดีในดินแทบทุกชนิด มีเขตการกระจายพันธุ์ในภาคเหนือของปากีสถาน อินเดีย ศรีลังกา พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และมาเลเซีย ส่วนในประเทศไทยพบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วทุกภาคของประเทศ โดยมักพบขึ้นในป่าเบญจพรรณชื้น ป่าดิบเขา ป่าดิบแล้ง ป่าเต็งรัง และป่าคืนสภาพ พบมากในป่าชายหาด บนพื้นที่สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 400-900 เมตร
ใบกาสามปีก ใบเป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ เรียงตรงข้าม มีใบย่อย 3 ใบ ก้านใบเรียว ยาวประมาณ 3.5-7 เซนติเมตร ด้านบนเรียบหรือเป็นร่องตื้น มีขอบเป็นสันชัดเจน ผิวเรียบหรือมีขนขึ้นประปราย ลักษณะของใบย่อยเป็นรูปขอบขนานถึงรูปรี หรือเป็นรูปคล้ายใบหอก ปลายใบเรียวแหลม โคนใบเรียวแหลม ส่วนขอบใบเรียบ แผ่นใบหนา ใบย่อยจะมีขนาดไม่เท่า โดยใบกลางจะมีขนาดกว้างประมาณ 1.5-5.5 เซนติเมตร และยาวประมาณ 4-17 เซนติเมตร ใบอ่อนมีขนสีน้ำตาลขึ้นประปราย ส่วนใบแก่ด้านบนจะเกลี้ยง ด้านล่างมีขนขึ้นตามเส้นกลางใบ ปลายเส้นแขนงใบโค้งจรดกัน เห็นได้ไม่ชัด ก้านใบย่อยยาวได้ประมาณ 0.1-1.2 เซนติเมตร
ดอกกาสามปีก ออกดอกเป็นช่อ โดยจะออกตามง่ามใบใกล้ปลายกิ่ง ออกเป็นช่อเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ มีขนาดกว้างประมาณ 3-6 เซนติเมตร และยาวประมาณ 8-25 เซนติเมตร แตกแขนงเป็นคู่ตรงข้ามหรือเกือบตรงข้ามกัน แต่ละแขนงจะแตกแขนงย่อยเป็นคู่ ๆ อีกประมาณ 1-3 คู่ ที่ปลายสุดของกิ่งจะเป็นช่อกระจุก ก้านช่อดอกยาวประมาณ 3-0.5 เซนติเมตร มีใบประดับติดเป็นคู่ตรงจุดที่แตกกิ่ง ยาวประมาณ 1-3 มิลลิเมตร ร่วงได้ง่าย ดอกกาสามปีกจะมีกลิ่นหอมอ่อน ๆ มีใบประดับย่อยขนาดเล็ก 1 คู่ ติดอยู่ใต้กลีบเลี้ยง ยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร กลีบเลี้ยงดอกมี 5 กลีบ โคนติดกันเป็นรูปกรวย สูงประมาณ 1.5-2.5 เซนติเมตร ที่ปลายแยกเป็นแฉกสามเหลี่ยมเล็ก 5 แฉก แฉกด้านล่างมักจะมีขนาดใหญ่กว่าแฉกอื่น ๆ กว้างได้ประมาณ 5 มิลลิเมตร ดอกมีเกสรเพศผู้ 4 อัน แบ่งเป็นอันยาว 2 อัน และสั้น 2 อัน ส่วนรังไข่มี 3-4 ช่อง
ผลกาสามปีก ผลมีลักษณะกลม มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5-8 มิลลิเมตร ฝาปิดขั้วผลมีขนาดกว้างประมาณ 1 ใน 4 ของตัวผล มีเนื้อหุ้มเมล็ดบาง ๆ ผลอ่อนเป็นสีเขียว เมื่อสุกจะเปลี่ยนเป็นสีแดง ภายในผลมีเมล็ด 1 เมล็ด เมล็ดแข็งมาก
- ต้นกาสามปีก จัดเป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงประมาณ 10-15 เมตร และอาจสูงได้ถึง 30 เมตร เปลือกต้นเป็นสีน้ำตาลอ่อนถึงสีน้ำตาลเข้มหรือดำ กิ่งอ่อนเป็นสี่เหลี่ยม มีขนอ่อนขึ้นประปราย ส่วนกิ่งแก่จะเกลี้ยงไม่มีขน ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ด ชอบแสงแดดจัด ขึ้นได้ดีในดินแทบทุกชนิด มีเขตการกระจายพันธุ์ในภาคเหนือของปากีสถาน อินเดีย ศรีลังกา พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และมาเลเซีย ส่วนในประเทศไทยพบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วทุกภาคของประเทศ โดยมักพบขึ้นในป่าเบญจพรรณชื้น ป่าดิบเขา ป่าดิบแล้ง ป่าเต็งรัง และป่าคืนสภาพ พบมากในป่าชายหาด บนพื้นที่สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 400-900 เมตร
ใบกาสามปีก ใบเป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ เรียงตรงข้าม มีใบย่อย 3 ใบ ก้านใบเรียว ยาวประมาณ 3.5-7 เซนติเมตร ด้านบนเรียบหรือเป็นร่องตื้น มีขอบเป็นสันชัดเจน ผิวเรียบหรือมีขนขึ้นประปราย ลักษณะของใบย่อยเป็นรูปขอบขนานถึงรูปรี หรือเป็นรูปคล้ายใบหอก ปลายใบเรียวแหลม โคนใบเรียวแหลม ส่วนขอบใบเรียบ แผ่นใบหนา ใบย่อยจะมีขนาดไม่เท่า โดยใบกลางจะมีขนาดกว้างประมาณ 1.5-5.5 เซนติเมตร และยาวประมาณ 4-17 เซนติเมตร ใบอ่อนมีขนสีน้ำตาลขึ้นประปราย ส่วนใบแก่ด้านบนจะเกลี้ยง ด้านล่างมีขนขึ้นตามเส้นกลางใบ ปลายเส้นแขนงใบโค้งจรดกัน เห็นได้ไม่ชัด ก้านใบย่อยยาวได้ประมาณ 0.1-1.2 เซนติเมตร
ดอกกาสามปีก ออกดอกเป็นช่อ โดยจะออกตามง่ามใบใกล้ปลายกิ่ง ออกเป็นช่อเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ มีขนาดกว้างประมาณ 3-6 เซนติเมตร และยาวประมาณ 8-25 เซนติเมตร แตกแขนงเป็นคู่ตรงข้ามหรือเกือบตรงข้ามกัน แต่ละแขนงจะแตกแขนงย่อยเป็นคู่ ๆ อีกประมาณ 1-3 คู่ ที่ปลายสุดของกิ่งจะเป็นช่อกระจุก ก้านช่อดอกยาวประมาณ 3-0.5 เซนติเมตร มีใบประดับติดเป็นคู่ตรงจุดที่แตกกิ่ง ยาวประมาณ 1-3 มิลลิเมตร ร่วงได้ง่าย ดอกกาสามปีกจะมีกลิ่นหอมอ่อน ๆ มีใบประดับย่อยขนาดเล็ก 1 คู่ ติดอยู่ใต้กลีบเลี้ยง ยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร กลีบเลี้ยงดอกมี 5 กลีบ โคนติดกันเป็นรูปกรวย สูงประมาณ 1.5-2.5 เซนติเมตร ที่ปลายแยกเป็นแฉกสามเหลี่ยมเล็ก 5 แฉก แฉกด้านล่างมักจะมีขนาดใหญ่กว่าแฉกอื่น ๆ กว้างได้ประมาณ 5 มิลลิเมตร ดอกมีเกสรเพศผู้ 4 อัน แบ่งเป็นอันยาว 2 อัน และสั้น 2 อัน ส่วนรังไข่มี 3-4 ช่อง
ผลกาสามปีก ผลมีลักษณะกลม มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5-8 มิลลิเมตร ฝาปิดขั้วผลมีขนาดกว้างประมาณ 1 ใน 4 ของตัวผล มีเนื้อหุ้มเมล็ดบาง ๆ ผลอ่อนเป็นสีเขียว เมื่อสุกจะเปลี่ยนเป็นสีแดง ภายในผลมีเมล็ด 1 เมล็ด เมล็ดแข็งมาก
- ต้นกาสามปีก จัดเป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงประมาณ 10-15 เมตร และอาจสูงได้ถึง 30 เมตร เปลือกต้นเป็นสีน้ำตาลอ่อนถึงสีน้ำตาลเข้มหรือดำ กิ่งอ่อนเป็นสี่เหลี่ยม มีขนอ่อนขึ้นประปราย ส่วนกิ่งแก่จะเกลี้ยงไม่มีขน ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ด ชอบแสงแดดจัด ขึ้นได้ดีในดินแทบทุกชนิด มีเขตการกระจายพันธุ์ในภาคเหนือของปากีสถาน อินเดีย ศรีลังกา พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และมาเลเซีย ส่วนในประเทศไทยพบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วทุกภาคของประเทศ โดยมักพบขึ้นในป่าเบญจพรรณชื้น ป่าดิบเขา ป่าดิบแล้ง ป่าเต็งรัง และป่าคืนสภาพ พบมากในป่าชายหาด บนพื้นที่สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 400-900 เมตร
ใบกาสามปีก ใบเป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ เรียงตรงข้าม มีใบย่อย 3 ใบ ก้านใบเรียว ยาวประมาณ 3.5-7 เซนติเมตร ด้านบนเรียบหรือเป็นร่องตื้น มีขอบเป็นสันชัดเจน ผิวเรียบหรือมีขนขึ้นประปราย ลักษณะของใบย่อยเป็นรูปขอบขนานถึงรูปรี หรือเป็นรูปคล้ายใบหอก ปลายใบเรียวแหลม โคนใบเรียวแหลม ส่วนขอบใบเรียบ แผ่นใบหนา ใบย่อยจะมีขนาดไม่เท่า โดยใบกลางจะมีขนาดกว้างประมาณ 1.5-5.5 เซนติเมตร และยาวประมาณ 4-17 เซนติเมตร ใบอ่อนมีขนสีน้ำตาลขึ้นประปราย ส่วนใบแก่ด้านบนจะเกลี้ยง ด้านล่างมีขนขึ้นตามเส้นกลางใบ ปลายเส้นแขนงใบโค้งจรดกัน เห็นได้ไม่ชัด ก้านใบย่อยยาวได้ประมาณ 0.1-1.2 เซนติเมตร
ดอกกาสามปีก ออกดอกเป็นช่อ โดยจะออกตามง่ามใบใกล้ปลายกิ่ง ออกเป็นช่อเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ มีขนาดกว้างประมาณ 3-6 เซนติเมตร และยาวประมาณ 8-25 เซนติเมตร แตกแขนงเป็นคู่ตรงข้ามหรือเกือบตรงข้ามกัน แต่ละแขนงจะแตกแขนงย่อยเป็นคู่ ๆ อีกประมาณ 1-3 คู่ ที่ปลายสุดของกิ่งจะเป็นช่อกระจุก ก้านช่อดอกยาวประมาณ 3-0.5 เซนติเมตร มีใบประดับติดเป็นคู่ตรงจุดที่แตกกิ่ง ยาวประมาณ 1-3 มิลลิเมตร ร่วงได้ง่าย ดอกกาสามปีกจะมีกลิ่นหอมอ่อน ๆ มีใบประดับย่อยขนาดเล็ก 1 คู่ ติดอยู่ใต้กลีบเลี้ยง ยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร กลีบเลี้ยงดอกมี 5 กลีบ โคนติดกันเป็นรูปกรวย สูงประมาณ 1.5-2.5 เซนติเมตร ที่ปลายแยกเป็นแฉกสามเหลี่ยมเล็ก 5 แฉก แฉกด้านล่างมักจะมีขนาดใหญ่กว่าแฉกอื่น ๆ กว้างได้ประมาณ 5 มิลลิเมตร ดอกมีเกสรเพศผู้ 4 อัน แบ่งเป็นอันยาว 2 อัน และสั้น 2 อัน ส่วนรังไข่มี 3-4 ช่อง
ผลกาสามปีก ผลมีลักษณะกลม มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5-8 มิลลิเมตร ฝาปิดขั้วผลมีขนาดกว้างประมาณ 1 ใน 4 ของตัวผล มีเนื้อหุ้มเมล็ดบาง ๆ ผลอ่อนเป็นสีเขียว เมื่อสุกจะเปลี่ยนเป็นสีแดง ภายในผลมีเมล็ด 1 เมล็ด เมล็ดแข็งมาก
- ต้นกาสามปีก จัดเป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงประมาณ 10-15 เมตร และอาจสูงได้ถึง 30 เมตร เปลือกต้นเป็นสีน้ำตาลอ่อนถึงสีน้ำตาลเข้มหรือดำ กิ่งอ่อนเป็นสี่เหลี่ยม มีขนอ่อนขึ้นประปราย ส่วนกิ่งแก่จะเกลี้ยงไม่มีขน ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ด ชอบแสงแดดจัด ขึ้นได้ดีในดินแทบทุกชนิด มีเขตการกระจายพันธุ์ในภาคเหนือของปากีสถาน อินเดีย ศรีลังกา พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และมาเลเซีย ส่วนในประเทศไทยพบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วทุกภาคของประเทศ โดยมักพบขึ้นในป่าเบญจพรรณชื้น ป่าดิบเขา ป่าดิบแล้ง ป่าเต็งรัง และป่าคืนสภาพ พบมากในป่าชายหาด บนพื้นที่สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 400-900 เมตร
ใบกาสามปีก ใบเป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ เรียงตรงข้าม มีใบย่อย 3 ใบ ก้านใบเรียว ยาวประมาณ 3.5-7 เซนติเมตร ด้านบนเรียบหรือเป็นร่องตื้น มีขอบเป็นสันชัดเจน ผิวเรียบหรือมีขนขึ้นประปราย ลักษณะของใบย่อยเป็นรูปขอบขนานถึงรูปรี หรือเป็นรูปคล้ายใบหอก ปลายใบเรียวแหลม โคนใบเรียวแหลม ส่วนขอบใบเรียบ แผ่นใบหนา ใบย่อยจะมีขนาดไม่เท่า โดยใบกลางจะมีขนาดกว้างประมาณ 1.5-5.5 เซนติเมตร และยาวประมาณ 4-17 เซนติเมตร ใบอ่อนมีขนสีน้ำตาลขึ้นประปราย ส่วนใบแก่ด้านบนจะเกลี้ยง ด้านล่างมีขนขึ้นตามเส้นกลางใบ ปลายเส้นแขนงใบโค้งจรดกัน เห็นได้ไม่ชัด ก้านใบย่อยยาวได้ประมาณ 0.1-1.2 เซนติเมตร
ดอกกาสามปีก ออกดอกเป็นช่อ โดยจะออกตามง่ามใบใกล้ปลายกิ่ง ออกเป็นช่อเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ มีขนาดกว้างประมาณ 3-6 เซนติเมตร และยาวประมาณ 8-25 เซนติเมตร แตกแขนงเป็นคู่ตรงข้ามหรือเกือบตรงข้ามกัน แต่ละแขนงจะแตกแขนงย่อยเป็นคู่ ๆ อีกประมาณ 1-3 คู่ ที่ปลายสุดของกิ่งจะเป็นช่อกระจุก ก้านช่อดอกยาวประมาณ 3-0.5 เซนติเมตร มีใบประดับติดเป็นคู่ตรงจุดที่แตกกิ่ง ยาวประมาณ 1-3 มิลลิเมตร ร่วงได้ง่าย ดอกกาสามปีกจะมีกลิ่นหอมอ่อน ๆ มีใบประดับย่อยขนาดเล็ก 1 คู่ ติดอยู่ใต้กลีบเลี้ยง ยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร กลีบเลี้ยงดอกมี 5 กลีบ โคนติดกันเป็นรูปกรวย สูงประมาณ 1.5-2.5 เซนติเมตร ที่ปลายแยกเป็นแฉกสามเหลี่ยมเล็ก 5 แฉก แฉกด้านล่างมักจะมีขนาดใหญ่กว่าแฉกอื่น ๆ กว้างได้ประมาณ 5 มิลลิเมตร ดอกมีเกสรเพศผู้ 4 อัน แบ่งเป็นอันยาว 2 อัน และสั้น 2 อัน ส่วนรังไข่มี 3-4 ช่อง
ผลกาสามปีก ผลมีลักษณะกลม มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5-8 มิลลิเมตร ฝาปิดขั้วผลมีขนาดกว้างประมาณ 1 ใน 4 ของตัวผล มีเนื้อหุ้มเมล็ดบาง ๆ ผลอ่อนเป็นสีเขียว เมื่อสุกจะเปลี่ยนเป็นสีแดง ภายในผลมีเมล็ด 1 เมล็ด เมล็ดแข็งมาก
- ไม้ต้น
ระบบนิเวศ :
- พบในป่ากึ่งโล่งแจ้ง และป่าชั้นที่สอง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร,สมุนไพร,ที่อยู่อาศัย,เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย,ใช้ก่อสร้างบ้านเรือน
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ