ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้น
- เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ โตเร็ว ลำต้นตรง สูงราว 15-30 เมตร ผิวลำต้นมีสะเก็ดเล็กๆ สีขาวปนน้ำตาล เปลือกสีเทา มียาง สีขาว เนื้อไม้สีขาวอมเหลือง แตกกิ่งก้านสาขามากตามยอด ใบเป็นใบเดี่ยวมนรี ปลายใบมนโคนใบแหลมก้านใบสั้น แตกใบออกรอบข้อเป็นวง
- เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ โตเร็ว ลำต้นตรง สูงราว 15-30 เมตร ผิวลำต้นมีสะเก็ดเล็กๆ สีขาวปนน้ำตาล เปลือกสีเทา มียาง สีขาว เนื้อไม้สีขาวอมเหลือง แตกกิ่งก้านสาขามากตามยอด ใบเป็นใบเดี่ยวมนรี ปลายใบมนโคนใบแหลมก้านใบสั้น แตกใบออกรอบข้อเป็นวง
- เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ โตเร็ว ลำต้นตรง สูงราว 15-30 เมตร ผิวลำต้นมีสะเก็ดเล็กๆ สีขาวปนน้ำตาล เปลือกสีเทา มียาง สีขาว เนื้อไม้สีขาวอมเหลือง แตกกิ่งก้านสาขามากตามยอด ใบเป็นใบเดี่ยวมนรี ปลายใบมนโคนใบแหลมก้านใบสั้น แตกใบออกรอบข้อเป็นวง
- เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ โตเร็ว ลำต้นตรง สูงราว 15-30 เมตร ผิวลำต้นมีสะเก็ดเล็กๆ สีขาวปนน้ำตาล เปลือกสีเทา มียาง สีขาว เนื้อไม้สีขาวอมเหลือง แตกกิ่งก้านสาขามากตามยอด ใบเป็นใบเดี่ยวมนรี ปลายใบมนโคนใบแหลมก้านใบสั้น แตกใบออกรอบข้อเป็นวง
- ไม้ต้น สูง 35-40 (-50) เมตร เรือนยอดของต้น เป็นพุ่มทรงสูง เรือนยอดของต้นใหญ่ค่อนข้างกลม หรือบางครั้งแผ่กว้าง เปลือกสีน้ำตาลถึงสีน้ำตาลคล้ำ เรียบหรือแตกเป็นร่อง เปลือกชั้นในสีน้ำตาลประด้วยสีเหลือง ใบ เดี่ยว ออกตรงข้ามกันเป็นวงรอบกิ่ง วงละ 5-8 ใบ แผ่นใบรูปรีแกมรูปขอบขนานถึงรูปขอบขนาดแกมรูปหอก กว้าง 2-6.5 เซนติเมตร ยาว 7-20 เซนติเมตร ผิวใบเกลี้ยง ผิวใบด้านล่างสีขาวนวลปลายใบเป็นติ่งแหลม โคนใบสอบแคบ เส้นแขนงใบมาก ทำมุมฉากกับเส้นกลางใบและขอบใบ ก้านใบยาว 1.5-3 เซนติเมตร ดอก เล็ก สีขาว ออกเป็นช่อตามปลายกิ่ง ผล ยาว 30-40 เซนติเมตร
- ไม้ต้น สูง 35-40 (-50) เมตร เรือนยอดของต้น เป็นพุ่มทรงสูง เรือนยอดของต้นใหญ่ค่อนข้างกลม หรือบางครั้งแผ่กว้าง เปลือกสีน้ำตาลถึงสีน้ำตาลคล้ำ เรียบหรือแตกเป็นร่อง เปลือกชั้นในสีน้ำตาลประด้วยสีเหลือง ใบ เดี่ยว ออกตรงข้ามกันเป็นวงรอบกิ่ง วงละ 5-8 ใบ แผ่นใบรูปรีแกมรูปขอบขนานถึงรูปขอบขนาดแกมรูปหอก กว้าง 2-6.5 เซนติเมตร ยาว 7-20 เซนติเมตร ผิวใบเกลี้ยง ผิวใบด้านล่างสีขาวนวลปลายใบเป็นติ่งแหลม โคนใบสอบแคบ เส้นแขนงใบมาก ทำมุมฉากกับเส้นกลางใบและขอบใบ ก้านใบยาว 1.5-3 เซนติเมตร ดอก เล็ก สีขาว ออกเป็นช่อตามปลายกิ่ง ผล ยาว 30-40 เซนติเมตร
- ไม้ต้น สูง 35-40 (-50) เมตร เรือนยอดของต้น เป็นพุ่มทรงสูง เรือนยอดของต้นใหญ่ค่อนข้างกลม หรือบางครั้งแผ่กว้าง เปลือกสีน้ำตาลถึงสีน้ำตาลคล้ำ เรียบหรือแตกเป็นร่อง เปลือกชั้นในสีน้ำตาลประด้วยสีเหลือง ใบ เดี่ยว ออกตรงข้ามกันเป็นวงรอบกิ่ง วงละ 5-8 ใบ แผ่นใบรูปรีแกมรูปขอบขนานถึงรูปขอบขนาดแกมรูปหอก กว้าง 2-6.5 เซนติเมตร ยาว 7-20 เซนติเมตร ผิวใบเกลี้ยง ผิวใบด้านล่างสีขาวนวลปลายใบเป็นติ่งแหลม โคนใบสอบแคบ เส้นแขนงใบมาก ทำมุมฉากกับเส้นกลางใบและขอบใบ ก้านใบยาว 1.5-3 เซนติเมตร ดอก เล็ก สีขาว ออกเป็นช่อตามปลายกิ่ง ผล ยาว 30-40 เซนติเมตร
- ไม้ต้น สูง 35-40 (-50) เมตร เรือนยอดของต้น เป็นพุ่มทรงสูง เรือนยอดของต้นใหญ่ค่อนข้างกลม หรือบางครั้งแผ่กว้าง เปลือกสีน้ำตาลถึงสีน้ำตาลคล้ำ เรียบหรือแตกเป็นร่อง เปลือกชั้นในสีน้ำตาลประด้วยสีเหลือง ใบ เดี่ยว ออกตรงข้ามกันเป็นวงรอบกิ่ง วงละ 5-8 ใบ แผ่นใบรูปรีแกมรูปขอบขนานถึงรูปขอบขนาดแกมรูปหอก กว้าง 2-6.5 เซนติเมตร ยาว 7-20 เซนติเมตร ผิวใบเกลี้ยง ผิวใบด้านล่างสีขาวนวลปลายใบเป็นติ่งแหลม โคนใบสอบแคบ เส้นแขนงใบมาก ทำมุมฉากกับเส้นกลางใบและขอบใบ ก้านใบยาว 1.5-3 เซนติเมตร ดอก เล็ก สีขาว ออกเป็นช่อตามปลายกิ่ง ผล ยาว 30-40 เซนติเมตร
- - ต้นพญาสัตบรรณ : เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ลำต้นเป็นพูพอน เปลือกสีเทาดำ มียางสีขาว
- ใบ : เป็นใบเดี่ยวออกเป็นวงรอบๆ ข้อ แผ่นใบเป็นรูปไข่กลับ ปลายใบมนเว้าเข้าเล็กน้อย เส้นใบถี่ขนานกัน
- ดอก : ออกดอกเป็นกระจุกช่อใหญ่สีขาวที่ปลายกิ่ง ก้านช่อดอกออกซ้อนกันเหมือนฉัตรประมาณ 2–3 ชั้น กลีบรองดอกมีขนาดเล็ก มีขนสีขาวอมเหลืองนวล กลิ่นหอม
- ผล : เป็นฝักยาวเหมือนถั่วฝักยาว เมื่อแก่จัดจะแตกเป็น 2 ซีก มีเมล็ดจำนวนมาก ลักษณะเมล็ดเป็นรูปขนานแบนๆ
- - ต้นพญาสัตบรรณ : เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ลำต้นเป็นพูพอน เปลือกสีเทาดำ มียางสีขาว
- ใบ : เป็นใบเดี่ยวออกเป็นวงรอบๆ ข้อ แผ่นใบเป็นรูปไข่กลับ ปลายใบมนเว้าเข้าเล็กน้อย เส้นใบถี่ขนานกัน
- ดอก : ออกดอกเป็นกระจุกช่อใหญ่สีขาวที่ปลายกิ่ง ก้านช่อดอกออกซ้อนกันเหมือนฉัตรประมาณ 2–3 ชั้น กลีบรองดอกมีขนาดเล็ก มีขนสีขาวอมเหลืองนวล กลิ่นหอม
- ผล : เป็นฝักยาวเหมือนถั่วฝักยาว เมื่อแก่จัดจะแตกเป็น 2 ซีก มีเมล็ดจำนวนมาก ลักษณะเมล็ดเป็นรูปขนานแบนๆ
- - ต้นพญาสัตบรรณ : เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ลำต้นเป็นพูพอน เปลือกสีเทาดำ มียางสีขาว
- ใบ : เป็นใบเดี่ยวออกเป็นวงรอบๆ ข้อ แผ่นใบเป็นรูปไข่กลับ ปลายใบมนเว้าเข้าเล็กน้อย เส้นใบถี่ขนานกัน
- ดอก : ออกดอกเป็นกระจุกช่อใหญ่สีขาวที่ปลายกิ่ง ก้านช่อดอกออกซ้อนกันเหมือนฉัตรประมาณ 2–3 ชั้น กลีบรองดอกมีขนาดเล็ก มีขนสีขาวอมเหลืองนวล กลิ่นหอม
- ผล : เป็นฝักยาวเหมือนถั่วฝักยาว เมื่อแก่จัดจะแตกเป็น 2 ซีก มีเมล็ดจำนวนมาก ลักษณะเมล็ดเป็นรูปขนานแบนๆ
- - ต้นพญาสัตบรรณ : เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ลำต้นเป็นพูพอน เปลือกสีเทาดำ มียางสีขาว
- ใบ : เป็นใบเดี่ยวออกเป็นวงรอบๆ ข้อ แผ่นใบเป็นรูปไข่กลับ ปลายใบมนเว้าเข้าเล็กน้อย เส้นใบถี่ขนานกัน
- ดอก : ออกดอกเป็นกระจุกช่อใหญ่สีขาวที่ปลายกิ่ง ก้านช่อดอกออกซ้อนกันเหมือนฉัตรประมาณ 2–3 ชั้น กลีบรองดอกมีขนาดเล็ก มีขนสีขาวอมเหลืองนวล กลิ่นหอม
- ผล : เป็นฝักยาวเหมือนถั่วฝักยาว เมื่อแก่จัดจะแตกเป็น 2 ซีก มีเมล็ดจำนวนมาก ลักษณะเมล็ดเป็นรูปขนานแบนๆ
- เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ โตเร็ว ลำต้นตรง สูงราว 15-30 เมตร ผิวลำต้นมีสะเก็ดเล็กๆ สีขาวปนน้ำตาล เปลือกสีเทา มียาง สีขาว เนื้อไม้สีขาวอมเหลือง แตกกิ่งก้านสาขามากตามยอด ใบเป็นใบเดี่ยวมนรี ปลายใบมนโคนใบแหลมก้านใบสั้น แตกใบออกรอบข้อเป็นวง
- ไม้ต้น สูง 35-40 (-50) เมตร เรือนยอดของต้น เป็นพุ่มทรงสูง เรือนยอดของต้นใหญ่ค่อนข้างกลม หรือบางครั้งแผ่กว้าง เปลือกสีน้ำตาลถึงสีน้ำตาลคล้ำ เรียบหรือแตกเป็นร่อง เปลือกชั้นในสีน้ำตาลประด้วยสีเหลือง ใบ เดี่ยว ออกตรงข้ามกันเป็นวงรอบกิ่ง วงละ 5-8 ใบ แผ่นใบรูปรีแกมรูปขอบขนานถึงรูปขอบขนาดแกมรูปหอก กว้าง 2-6.5 เซนติเมตร ยาว 7-20 เซนติเมตร ผิวใบเกลี้ยง ผิวใบด้านล่างสีขาวนวลปลายใบเป็นติ่งแหลม โคนใบสอบแคบ เส้นแขนงใบมาก ทำมุมฉากกับเส้นกลางใบและขอบใบ ก้านใบยาว 1.5-3 เซนติเมตร ดอก เล็ก สีขาว ออกเป็นช่อตามปลายกิ่ง ผล ยาว 30-40 เซนติเมตร
- ไม้ยืนต้น
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 40 ม. กิ่งมีช่องอากาศ หูใบคล้ายเป็นติ่งที่ซอกก้านใบ ใบเรียงเป็นวง 4-10 ใบ รูปรี รูปไข่กลับ หรือรูปใบพาย ยาว 4-32 ซม. ปลายแหลมหรือกลม โคนรูปลิ่มหรือเป็นครีบ เส้นใบตรงจำนวนมาก ก้านใบยาว 0.7-1.5 ซม. ช่อดอกแน่นเป็นกระจุก ยาว 3-8.5 ซม. ก้านดอกสั้น กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาว 1-2 มม. มีขนสั้นนุ่มและขนครุย กลีบดอกเรียงซ้อนทับด้านซ้ายในตาดอก หลอดกลีบยาว 0.5-1 ซม. กลีบรูปรี ยาว 2-5 มม. เกสรเพศผู้ติดเหนือกึ่งกลางหลอดกลีบ จานฐานดอกเป็นต่อมแยกกัน คาร์เพลมีขน เกสรเพศเมียยาว 3-5 มม. ผลออกเป็นฝักคู่ รูปแถบ ยาว 20-55 ซม. เมล็ดรูปขอบขนาน ยาว 4-8 มม. ขนครุยยาว 1-2 มม.
- ไม้ต้น สูงได้ถึง40เมตร ทุกส่วนมียางขาว ใบ เดี่ยว เรียงเป็นวงรอบ4-8ใบ รูปรีหรือรูปไข่กลับ กว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 9-18 ซม. ผิวใบเกลี้ยง ดอก สีขาวแกมเขียวออกเป็นช่อแบบช่อซี่ร่ม กลีบเลี้ยง5กลีบมีขน กลีบดอกเป็นหลอด ปลายแยกเป็นกลีบ 5 กลีบ กลางดอกมีขนแน่น เกสรตัวผู้ติดอยู่ตรงกลางหลอดกลีบดอก ผล ออกเป็นคู่ กว้าง 2-3 มม. ยาว 21-56 ซม. แตกนิดเดียว ผิวเกลี้ยง เมล็ดมีขนยาว สีขาว
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 40 ม. กิ่งมีช่องอากาศ หูใบคล้ายเป็นติ่งที่ซอกก้านใบ ใบเรียงเป็นวง 4–10 ใบ รูปรี รูปไข่กลับ หรือรูปใบพาย ยาว 4–32 ซม. ปลายแหลมหรือกลม โคนรูปลิ่มหรือเป็นครีบ เส้นใบตรงจำนวนมาก ก้านใบยาว 0.7–1.5 ซม. ช่อดอกแน่นเป็นกระจุก ยาว 3–8.5 ซม. ก้านดอกสั้น กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาว 1–2 มม. มีขนสั้นนุ่มและขนครุย กลีบดอกเรียงซ้อนทับด้านซ้ายในตาดอก หลอดกลีบยาว 0.5–1 ซม. กลีบรูปรี ยาว 2–5 มม. เกสรเพศผู้ติดเหนือกึ่งกลางหลอดกลีบ จานฐานดอกเป็นต่อมแยกกัน คาร์เพลมีขน เกสรเพศเมียยาว 3–5 มม. ผลออกเป็นฝักคู่ รูปแถบ ยาว 20–55 ซม. เมล็ดรูปขอบขนาน ยาว 4–8 มม. ขนครุยยาว 1–2 มม.
- ไม้ต้น สูงได้ถึง40เมตร ทุกส่วนมียางขาว ใบ เดี่ยว เรียงเป็นวงรอบ4-8ใบ รูปรีหรือรูปไข่กลับ กว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 9-18 ซม. ผิวใบเกลี้ยง ดอก สีขาวแกมเขียวออกเป็นช่อแบบช่อซี่ร่ม กลีบเลี้ยง5กลีบมีขน กลีบดอกเป็นหลอด ปลายแยกเป็นกลีบ 5 กลีบ กลางดอกมีขนแน่น เกสรตัวผู้ติดอยู่ตรงกลางหลอดกลีบดอก ผล ออกเป็นคู่ กว้าง 2-3 มม. ยาว 21-56 ซม. แตกนิดเดียว ผิวเกลี้ยง เมล็ดมีขนยาว สีขาว
- ไม้ต้น สูงได้ถึง40เมตร ทุกส่วนมียางขาว ใบ เดี่ยว เรียงเป็นวงรอบ4-8ใบ รูปรีหรือรูปไข่กลับ กว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 9-18 ซม. ผิวใบเกลี้ยง ดอก สีขาวแกมเขียวออกเป็นช่อแบบช่อซี่ร่ม กลีบเลี้ยง5กลีบมีขน กลีบดอกเป็นหลอด ปลายแยกเป็นกลีบ 5 กลีบ กลางดอกมีขนแน่น เกสรตัวผู้ติดอยู่ตรงกลางหลอดกลีบดอก ผล ออกเป็นคู่ กว้าง 2-3 มม. ยาว 21-56 ซม. แตกนิดเดียว ผิวเกลี้ยง เมล็ดมีขนยาว สีขาว
- ไม้ต้น สูงได้ถึง40เมตร ทุกส่วนมียางขาว ใบ เดี่ยว เรียงเป็นวงรอบ4-8ใบ รูปรีหรือรูปไข่กลับ กว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 9-18 ซม. ผิวใบเกลี้ยง ดอก สีขาวแกมเขียวออกเป็นช่อแบบช่อซี่ร่ม กลีบเลี้ยง5กลีบมีขน กลีบดอกเป็นหลอด ปลายแยกเป็นกลีบ 5 กลีบ กลางดอกมีขนแน่น เกสรตัวผู้ติดอยู่ตรงกลางหลอดกลีบดอก ผล ออกเป็นคู่ กว้าง 2-3 มม. ยาว 21-56 ซม. แตกนิดเดียว ผิวเกลี้ยง เมล็ดมีขนยาว สีขาว
- ไม้ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูง 30-40 ม. มีน้ำยางสีขาว ใบเดี่ยว เรียงเป็นวง 4-8 ใบ รูปรี รูปไข่กลับหรือรูปใบพาย ยาว 4-32 ซม. ฐานใบรูปลิ่มหรือเป็นครีบปลายใบแหลมสั้นๆ หรือ ดอกแบบช่อกระจุกซี่ร่ม
ระบบนิเวศ :
- ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูง 100-1200 เมตร 
การกระจายพันธุ์ :
- พบตามป่าดงดิบ ป่าดิบแล้ง หรือป่าเบญจพรรณบริเวณริมน้ำ ที่ระดับความสูง 150-1,200 เมตร
- พบตามป่าดงดิบ ป่าดิบแล้ง หรือป่าเบญจพรรณบริเวณริมน้ำ ที่ระดับความสูง 150-1,200 เมตร
- พบตามป่าดงดิบ ป่าดิบแล้ง หรือป่าเบญจพรรณบริเวณริมน้ำ ที่ระดับความสูง 150-1,200 เมตร
- พบตามป่าดงดิบ ป่าดิบแล้ง หรือป่าเบญจพรรณบริเวณริมน้ำ ที่ระดับความสูง 150-1,200 เมตร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาชีโอน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาท่าเพชร
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาปะช้าง-แหลมขาม
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเลนคลองม่วงกลวง
- อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
- อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
- อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
- อุทยานแห่งชาติ เขานัน
- อุทยานแห่งชาติ เขานัน
- อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
- อุทยานแห่งชาติ เขาสิบห้าชั้น
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ คลองวังเจ้า
- อุทยานแห่งชาติ ตะรุเตา
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำปลา-น้ำตกผาเสื่อ
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพลิ้ว
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกโยง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกโยง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกโยง
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะชุมพร
- อุทยานแห่งชาติ หาดขนอม-หมู่เกาะทะเลใต้
- อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งระยะ-นาสัก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ฮาลา-บาลา
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- ป่าดงดิบกะลา ป่าภูสิงห์ และป่าดงสีชมพู หนองคาย
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
การขยายพันธุ์ :
- การปักชำกิ่ง หรือเพาะเมล็ด
- การปักชำกิ่ง หรือเพาะเมล็ด
- การปักชำกิ่ง หรือเพาะเมล็ด
- การปักชำกิ่ง หรือเพาะเมล็ด
- 1. การเพาะเมล็ด
- 1. การเพาะเมล็ด
- 1. การเพาะเมล็ด
- 1. การเพาะเมล็ด
- 1. การเพาะเมล็ด
2. การปักชำ
- 1. การเพาะเมล็ด
2. การปักชำ
- 1. การเพาะเมล็ด
2. การปักชำ
- 1. การเพาะเมล็ด
2. การปักชำ
- การปักชำกิ่ง หรือเพาะเมล็ด
- 1. การเพาะเมล็ด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- ชลบุรี
- สุราษฎร์ธานี
- สงขลา
- พิษณุโลก
- สงขลา
- นครราชสีมา
- ระนอง
- จันทบุรี
- ระยอง, จันทบุรี
- ระยอง, จันทบุรี
- นครศรีธรรมราช
- นครศรีธรรมราช
- อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
- จันทบุรี
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- กำแพงเพชร, ตาก
- สตูล
- แม่ฮ่องสอน
- ชัยภูมิ
- จันทบุรี
- นครศรีธรรมราช
- นครศรีธรรมราช
- นครศรีธรรมราช
- เชียงใหม่
- ชุมพร
- นครศรีธรรมราช, สุราษฎร์ธานี
- กาญจนบุรี
- ชลบุรี
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- กระบี่, ตรัง
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- จันทบุรี
- สุราษฎร์ธานี, ระนอง
- กระบี่, สุราษฎร์ธานี
- กระบี่, สุราษฎร์ธานี
- ชุมพร, ระนอง
- เชียงใหม่
- ลพบุรี
- บุรีรัมย์
- พะเยา, น่าน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- พังงา
- ระนอง, ชุมพร
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- พิษณุโลก
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- เลย
- บึงกาฬ
- ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- อุบลราชธานี
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- พะเยา
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- ศรีสะเกษ
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- ศรีสะเกษ
- ตาก
- ตาก
- ยะลา, นราธิวาส
- ลำปาง
- สมุทรปราการ
- หนองคาย
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- ปลูกเป็นไม้ประดับ เปลือกแก้ไข้มาเลเรีย ขับน้ำนม รากเป็นยาขับลมในลำไส้
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :