ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
พืชเบียน ลำต้นใต้ดินมีรากอวบ ใบอยู่ใต้ดิน รูปไข่แกมรูปใบหอก หรือรูปใบหอก กว้าง 3-4 มม. ยาว 5-10 มม. สีแดง ดอกเดี่ยว กลีบดอกเป็นหลอดแกมรูประฆัง คล้ายรูปปากเปิด ยาว 2-4.5 ซม. ด้านนอกสีชมพูแกมขาว ด้านในสีม่วงแดง ก้านดอกตั้งตรง สูง 10-30 ซม. ผลแห้งแตก รูปกรวย หรือรูปทรงกลมแกมรูปไข่ ยาว 2-3 ซม. ออกดอกเดือน เม.ย.-ก.ค.
-
พืชเบียน ลำต้นใต้ดินมีรากอวบ ใบอยู่ใต้ดิน รูปไข่แกมรูปใบหอก หรือรูปใบหอก กว้าง 3-4 มม. ยาว 5-10 มม. สีแดง ดอกเดี่ยว กลีบดอกเป็นหลอดแกมรูประฆัง คล้ายรูปปากเปิด ยาว 2-4.5 ซม. ด้านนอกสีชมพูแกมขาว ด้านในสีม่วงแดง ก้านดอกตั้งตรง สูง 10-30 ซม. ผลแห้งแตก รูปกรวย หรือรูปทรงกลมแกมรูปไข่ ยาว 2-3 ซม. ออกดอกเดือน เม.ย.-ก.ค.
-
พืชเบียน ลำต้นใต้ดินมีรากอวบ ใบอยู่ใต้ดิน รูปไข่แกมรูปใบหอก หรือรูปใบหอก กว้าง 3-4 มม. ยาว 5-10 มม. สีแดง ดอกเดี่ยว กลีบดอกเป็นหลอดแกมรูประฆัง คล้ายรูปปากเปิด ยาว 2-4.5 ซม. ด้านนอกสีชมพูแกมขาว ด้านในสีม่วงแดง ก้านดอกตั้งตรง สูง 10-30 ซม. ผลแห้งแตก รูปกรวย หรือรูปทรงกลมแกมรูปไข่ ยาว 2-3 ซม. ออกดอกเดือน เม.ย.-ก.ค.
-
พืชเบียน ลำต้นใต้ดินมีรากอวบ ใบอยู่ใต้ดิน รูปไข่แกมรูปใบหอก หรือรูปใบหอก กว้าง 3-4 มม. ยาว 5-10 มม. สีแดง ดอกเดี่ยว กลีบดอกเป็นหลอดแกมรูประฆัง คล้ายรูปปากเปิด ยาว 2-4.5 ซม. ด้านนอกสีชมพูแกมขาว ด้านในสีม่วงแดง ก้านดอกตั้งตรง สูง 10-30 ซม. ผลแห้งแตก รูปกรวย หรือรูปทรงกลมแกมรูปไข่ ยาว 2-3 ซม. ออกดอกเดือน เม.ย.-ก.ค.
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
กาฝากล้มลุก
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุบลราชธานี
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี
-
หนองคาย, ชุมพร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ผาแต้ม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
ป่าดงดิบกะลา ป่าภูสิงห์ และป่าดงสีชมพู หนองคาย, ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
นำมากินสดๆ ต้มกินหรือลวกทำเป็นอาหาร แก้เมาหัว เป็นอาหาร
ข้อมูลภูมิปัญญา
-
“ดอกดิน” ดอกไม้ให้สีในขนมดอกดิน :: สีดำหรือสีออกม่วงเข้มของดอกดินคือสารที่ชื่อ ออคิวบิน (Aucubine หรือ Aucubin) ซึ่งเป็นสารในกลุ่มของ Iridoid glycoside ที่สามารถถูกออกซิไดซ์จากอากาศได้เป็นสีน้ำตาลเข้มเกือบดำ เนื่องจากออคิวบินเกิดจากหมู่ Hydroxyl ที่ถูก Oxidized จนเกิดเป็นหมู่ Carbonyl และเกิดเป็น Chromophore ที่มีสีเข้มขึ้น ดังนั้น ตัวของออคิวบินจึงมีคุณสมบัติในการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ นอกจากนี้ดอกดินยังสามารถนำมาทำขนมดอกดิน ซึ่งเป็นขนมไทยโบราณที่เป็นแป้งนุ่ม ๆ ดอกดินนั้นทำให้สีของขนมสีออกดำและยังให้กลิ่นหอม ถูกห่อด้วยใบตองและโรยหน้าขนมด้วยมะพร้าวขูด ขนมดอกดินนั้นจะมีการทำในช่วงเดือนกรกฎาคม - ตุลาคม เนื่องจากเกิดตามธรรมชาติ แ
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมป่าไม้
-
สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)
-
คู่มือพันธ์ุไม้ท้องถิ่น ตำบลแม่กิ๊ก อ.ขุนยวม จ.แม่ฮ่องสอน
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช