ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น สูง 20 เมตร ลำต้นเปลาตรง มีน้ำยางสีขาว ใบเดี่ยว ออกเวียน รูปรี กว้าง 10-15 ซม. ยาว 25-28 ซม. ฐานใบกลมหรือรูปลิ่มกว้าง ขอบใบเรียบ ปลายใบมน แผ่นใบหนาคล้ายหนังมีขนสาก ช่อดอกมีลักษณะคล้ายผลที่เกิดจากฐานรองดอกขยายใหญ่โอบหุ้มดอกย่อยเอาไว้ มีรูเปิดตรงปลายและมีใบประดับปิดอยู่ ภายในมีดอกย่อย 3 ประเภทคือ ดอกเพศผู้ ดอกเพศเมีย และดอกปุ่มหูด (gall-flower) ดอกเพศผู้กระจายอยู่ใกล้รูเปิดตรงปลาย มีกลีบเลี้ยง 3-5 กลีบ รูปช้อน เกสรเพศผู้ 1-2 อัน ไม่มีก้าน ดอกเพศเมีย มีกลีบเลี้ยง 3-5 กลีบ รูปใบหอก ยอดเกสรเพศเมีย แยกเป็น 2 แฉก ดอกปุ่มหูด คล้ายดอกเพศเมียแต่ยอดเกสรสั้น ผลกลม ผิวเกลี้ยง ผลอ่อนสีเขียว
- ไม้ต้น สูง 20 เมตร ลำต้นเปลาตรง มีน้ำยางสีขาว ใบเดี่ยว ออกเวียน รูปรี กว้าง 10-15 ซม. ยาว 25-28 ซม. ฐานใบกลมหรือรูปลิ่มกว้าง ขอบใบเรียบ ปลายใบมน แผ่นใบหนาคล้ายหนังมีขนสาก ช่อดอกมีลักษณะคล้ายผลที่เกิดจากฐานรองดอกขยายใหญ่โอบหุ้มดอกย่อยเอาไว้ มีรูเปิดตรงปลายและมีใบประดับปิดอยู่ ภายในมีดอกย่อย 3 ประเภทคือ ดอกเพศผู้ ดอกเพศเมีย และดอกปุ่มหูด (gall-flower) ดอกเพศผู้กระจายอยู่ใกล้รูเปิดตรงปลาย มีกลีบเลี้ยง 3-5 กลีบ รูปช้อน เกสรเพศผู้ 1-2 อัน ไม่มีก้าน ดอกเพศเมีย มีกลีบเลี้ยง 3-5 กลีบ รูปใบหอก ยอดเกสรเพศเมีย แยกเป็น 2 แฉก ดอกปุ่มหูด คล้ายดอกเพศเมียแต่ยอดเกสรสั้น ผลกลม ผิวเกลี้ยง ผลอ่อนสีเขียว
- ไม้ต้น สูง 20 เมตร ลำต้นเปลาตรง มีน้ำยางสีขาว ใบเดี่ยว ออกเวียน รูปรี กว้าง 10-15 ซม. ยาว 25-28 ซม. ฐานใบกลมหรือรูปลิ่มกว้าง ขอบใบเรียบ ปลายใบมน แผ่นใบหนาคล้ายหนังมีขนสาก ช่อดอกมีลักษณะคล้ายผลที่เกิดจากฐานรองดอกขยายใหญ่โอบหุ้มดอกย่อยเอาไว้ มีรูเปิดตรงปลายและมีใบประดับปิดอยู่ ภายในมีดอกย่อย 3 ประเภทคือ ดอกเพศผู้ ดอกเพศเมีย และดอกปุ่มหูด (gall-flower) ดอกเพศผู้กระจายอยู่ใกล้รูเปิดตรงปลาย มีกลีบเลี้ยง 3-5 กลีบ รูปช้อน เกสรเพศผู้ 1-2 อัน ไม่มีก้าน ดอกเพศเมีย มีกลีบเลี้ยง 3-5 กลีบ รูปใบหอก ยอดเกสรเพศเมีย แยกเป็น 2 แฉก ดอกปุ่มหูด คล้ายดอกเพศเมียแต่ยอดเกสรสั้น ผลกลม ผิวเกลี้ยง ผลอ่อนสีเขียว
- ไม้ต้น สูง 20 เมตร ลำต้นเปลาตรง มีน้ำยางสีขาว ใบเดี่ยว ออกเวียน รูปรี กว้าง 10-15 ซม. ยาว 25-28 ซม. ฐานใบกลมหรือรูปลิ่มกว้าง ขอบใบเรียบ ปลายใบมน แผ่นใบหนาคล้ายหนังมีขนสาก ช่อดอกมีลักษณะคล้ายผลที่เกิดจากฐานรองดอกขยายใหญ่โอบหุ้มดอกย่อยเอาไว้ มีรูเปิดตรงปลายและมีใบประดับปิดอยู่ ภายในมีดอกย่อย 3 ประเภทคือ ดอกเพศผู้ ดอกเพศเมีย และดอกปุ่มหูด (gall-flower) ดอกเพศผู้กระจายอยู่ใกล้รูเปิดตรงปลาย มีกลีบเลี้ยง 3-5 กลีบ รูปช้อน เกสรเพศผู้ 1-2 อัน ไม่มีก้าน ดอกเพศเมีย มีกลีบเลี้ยง 3-5 กลีบ รูปใบหอก ยอดเกสรเพศเมีย แยกเป็น 2 แฉก ดอกปุ่มหูด คล้ายดอกเพศเมียแต่ยอดเกสรสั้น ผลกลม ผิวเกลี้ยง ผลอ่อนสีเขียว
- ไม้ต้น ลำต้น: สูง 20 ม. ลำต้นเปลาตรง มีน้ำยางสีขาว ใบ: เป็นใบเดี่ยว ออกเวียน รูปรี กว้าง 10-15 ซม. ยาว 25-28 ซม. ฐานใบกลมหรือรูปลิ่มกว้าง ขอบใบเรียบ ปลายใบมน แผ่นใบหนาคล้ายหนังมีขนสาก ดอก: ช่อดอกมีลักษณะคล้ายผลที่เกิดจากฐานรองดอกขยายใหญ่โอบหุ้มดอกย่อยเอาไว้ มีรูเปิดตรงปลายและมีใบประดับปิดอยู่ ภายในมีดอกย่อย 3 ประเภทคือ ดอกเพศผู้ ดอกเพศเมีย และดอกปุ่มหูด (gall-flower) ดอกเพศผู้กระจายอยู่ใกล้รูเปิดตรงปลาย มีกลีบเลี้ยง 3-5 กลีบ รูปช้อน เกสรเพศผู้ 1-2 อัน ไม่มีก้าน ดอกเพศเมีย มีกลีบเลี้ยง 3-5 กลีบ รูปใบหอก ยอดเกสรเพศเมีย แยกเป็น 2 แฉก ดอกปุ่มหูด คล้ายดอกเพศเมียแต่ยอดเกสรสั้น ผล: ผลกลม ผิวเกลี้ยง ผลอ่อนสีเขียว
การกระจายพันธุ์ :
- พบบริเวณป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 400-600 เมตร ออกดอกและติดผลเดือนมกราคม-มีนาคม
- พบบริเวณป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 400-600 เมตร ออกดอกและติดผลเดือนมกราคม-มีนาคม
- พบบริเวณป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 400-600 เมตร ออกดอกและติดผลเดือนมกราคม-มีนาคม
- พบบริเวณป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 400-600 เมตร ออกดอกและติดผลเดือนมกราคม-มีนาคม
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ลำต้น : ไม้ยืนต้น สูง 20 ม. ลำต้นเปลาตรง มีน้ำยางสีขาว
ใบ :ใบเดี่ยว ออกเวียน รูปรี กว้าง 10-15 ซม. ยาว 25-28 ซม. ฐานใบกลมหรือรูปลิ่มกว้าง ขอบใบเรียบ ปลายใบมน แผ่นใบหนาคล้ายหนังมีขนสาก
ดอก : ช่อดอกมีลักษณะคล้ายผลที่เกิดจากฐานรองดอกขยายใหญ่โอบหุ้มดอกย่อยเอาไว้ มีรูเปิดตรงปลายและมีใบประดับปิดอยู่ ภายในมีดอกย่อย 3 ประเภทคือ ดอกเพศผู้ ดอกเพศเมีย และดอกปุ่มหูด (gall-flower) ดอกเพศผู้กระจายอยู่ใกล้รูเปิดตรงปลาย มีกลีบเลี้ยง 3-5 กลีบ รูปช้อน เกสรเพศผู้ 1-2 อัน ไม่มีก้าน ดอกเพศเมีย มีกลีบเลี้ยง 3-5 กลีบ รูปใบหอก ยอดเกสรเพศเมีย แยกเป็น 2 แฉก ดอกปุ่มหูด คล้ายดอกเพศเมียแต่ยอดเกสรสั้น
ผล : ผลกลม ผิวเกลี้ยง ผลอ่อนสีเขียว
- ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ลำต้น : ไม้ยืนต้น สูง 20 ม. ลำต้นเปลาตรง มีน้ำยางสีขาว
ใบ :ใบเดี่ยว ออกเวียน รูปรี กว้าง 10-15 ซม. ยาว 25-28 ซม. ฐานใบกลมหรือรูปลิ่มกว้าง ขอบใบเรียบ ปลายใบมน แผ่นใบหนาคล้ายหนังมีขนสาก
ดอก : ช่อดอกมีลักษณะคล้ายผลที่เกิดจากฐานรองดอกขยายใหญ่โอบหุ้มดอกย่อยเอาไว้ มีรูเปิดตรงปลายและมีใบประดับปิดอยู่ ภายในมีดอกย่อย 3 ประเภทคือ ดอกเพศผู้ ดอกเพศเมีย และดอกปุ่มหูด (gall-flower) ดอกเพศผู้กระจายอยู่ใกล้รูเปิดตรงปลาย มีกลีบเลี้ยง 3-5 กลีบ รูปช้อน เกสรเพศผู้ 1-2 อัน ไม่มีก้าน ดอกเพศเมีย มีกลีบเลี้ยง 3-5 กลีบ รูปใบหอก ยอดเกสรเพศเมีย แยกเป็น 2 แฉก ดอกปุ่มหูด คล้ายดอกเพศเมียแต่ยอดเกสรสั้น
ผล : ผลกลม ผิวเกลี้ยง ผลอ่อนสีเขียว
- ไม้ต้น
การขยายพันธุ์ :
- ขยายพันธุ์โดยการปักชำ
- ขยายพันธุ์โดยการปักชำ
ระบบนิเวศ :
- พบบริเวณป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 400-600 เมตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- จันทบุรี
- ระยอง, จันทบุรี
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
- จันทบุรี
- ชลบุรี
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- จันทบุรี
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่
- กาญจนบุรี, ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
- อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
- อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพลิ้ว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ