ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้น
- ไม้ต้น
- ไม้ต้น (Tree)
- กระทิง หรือ สารภีทะเล มีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ เช่น กากะทิง ทิง เนาวกาน สารภีแนน เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่สูง 20–25 เมตร เปลือกเรียบสีเทาอ่อนหรือน้ำตาลปนเหลือง เปลือกในสีชมพูเนื้อไม้สีน้ำตาลปนแดง ใบเป็นใบเดี่ยว ไม่ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มกลม สีเขียวเข้ม กิ่งอ่อนเกลี้ยง ยอดอ่อนเรียวเล็ก 
- กระทิง หรือ สารภีทะเล มีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ เช่น กากะทิง ทิง เนาวกาน สารภีแนน เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่สูง 20–25 เมตร เปลือกเรียบสีเทาอ่อนหรือน้ำตาลปนเหลือง เปลือกในสีชมพูเนื้อไม้สีน้ำตาลปนแดง ใบเป็นใบเดี่ยว ไม่ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มกลม สีเขียวเข้ม กิ่งอ่อนเกลี้ยง ยอดอ่อนเรียวเล็ก 
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 เมตร เปลือกแตกเป็นร่องตื้นๆ ตามยาว มีชันใสตามรอยแผล ชันสีเหลืองอมเขียวตามกิ่ง ใบ: ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ออกหนาแน่นตามปลายกิ่ง รูปรีหรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 8-15 เซนติเมตร ปลายใบกลมหรือเว้าตื้น โคนใบรูปลิ่มกว้างหรือกลม แผ่นใบค่อนข้างหนา เกลี้ยง เป็นมันวาวทั้งสองด้าน เส้นแขนงใบจำนวนมาก เส้นกลางใบบุ๋มด้านบน ก้านใบยาว 1-3 เซนติเมตร ดอก: ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้นๆ ออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ช่อดอกสั้นหรือยาวได้กว่า 10 เซนติเมตร มี 7-12 ดอก ในแต่ละช่อ ก้านดอกยาว 1.5-4 เซนติเมตร ดอกสีขาวมีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงคล้ายกลีบดอก สีขาว 4 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม 2 กลีบนอกเกือบกลม ยาวประมาณ 8 มิลลิเมตร 2 กลีบในรูปไข่กลับ ยาวเท่าๆ กลีบนอก กลีบดอกสีขาว 4 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม รูปรีหรือรูปไข่กลับ ยาว 1-1.2 เซนติเมตร ขอบเว้า ปลายกลม เกสรเพศผู้จำนวนมาก ก้านชูอับเรณูยาว 4-5 มิลลิเมตร อับเรณูสีเหลือง ยาวได้ประมาณ 1.5 มิลลิเมตร รังไข่ 1 ช่อง กลมๆ เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3 มิลลิเมตร ก้านเกสรเพศเมียยาว 6-7 มิลลิเมตร ยอดเกสรรูปโล่ ผล: ผลเมล็ดเดียว ทรงกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2.5 เซนติเมตร สุกสีเหลือง เมล็ดขนาดใหญ่
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 เมตร เปลือกแตกเป็นร่องตื้นๆ ตามยาว มีชันใสตามรอยแผล ชันสีเหลืองอมเขียวตามกิ่ง ใบ: ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ออกหนาแน่นตามปลายกิ่ง รูปรีหรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 8-15 เซนติเมตร ปลายใบกลมหรือเว้าตื้น โคนใบรูปลิ่มกว้างหรือกลม แผ่นใบค่อนข้างหนา เกลี้ยง เป็นมันวาวทั้งสองด้าน เส้นแขนงใบจำนวนมาก เส้นกลางใบบุ๋มด้านบน ก้านใบยาว 1-3 เซนติเมตร ดอก: ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้นๆ ออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ช่อดอกสั้นหรือยาวได้กว่า 10 เซนติเมตร มี 7-12 ดอก ในแต่ละช่อ ก้านดอกยาว 1.5-4 เซนติเมตร ดอกสีขาวมีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงคล้ายกลีบดอก สีขาว 4 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม 2 กลีบนอกเกือบกลม ยาวประมาณ 8 มิลลิเมตร 2 กลีบในรูปไข่กลับ ยาวเท่าๆ กลีบนอก กลีบดอกสีขาว 4 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม รูปรีหรือรูปไข่กลับ ยาว 1-1.2 เซนติเมตร ขอบเว้า ปลายกลม เกสรเพศผู้จำนวนมาก ก้านชูอับเรณูยาว 4-5 มิลลิเมตร อับเรณูสีเหลือง ยาวได้ประมาณ 1.5 มิลลิเมตร รังไข่ 1 ช่อง กลมๆ เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3 มิลลิเมตร ก้านเกสรเพศเมียยาว 6-7 มิลลิเมตร ยอดเกสรรูปโล่ ผล: ผลเมล็ดเดียว ทรงกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2.5 เซนติเมตร สุกสีเหลือง เมล็ดขนาดใหญ่
- ไม้ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูง ๑๕ - ๓๐ เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรีหรือแกมรูปไข่กลับ ยาว ๘ - ๑๕ เซนติเมตร ปลายใบกลมหรือเว้าตื้น โคนใบรูปลิ่มกว้างหรือกลม แผ่นใบค่อนข้างหนา เกลี้ยง เป็นมันวาวทั้งสองด้าน เส้นแขนงใบจำนวนมาก ดอกสีขาว ออกเป็นกระจุกแยกแขนงสั้นๆ ตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง เกสรเพศผู้ สีเหลือง จำนวนมาก ผลสดมีเมล็ดเดียว ทรงกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ ๒.๕ เซนติเมตร ผลสุกสีเหลือง เมล็ดขนาดใหญ่ การกระจายพันธุ์ พบตั้งแต่ประเทศแอฟริกา อินเดีย ศรีลังกา พม่า จีนตอนใต้ ไต้หวัน ญี่ปุ่น กัมพูชา เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิค จนถึงออสเตรเลีย ในประเทศไทยพบขึ้นตามชายหาด ที่โล่งชายป่าใกล้ชายฝั่งทะเล ระดับความสูงไม่เกิน ๒๐๐ เมตร ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้
- เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูง 5-17 ม. ไม่ผลัดใบ ไม่มีพูพอนเปลือกสีน้ำตาลถึง สีเทาค่อนข้างเข้ม มีรอยแตกเป็นร่องลึก มีน้ำยางเหนียว สีขาวถึงเหลือง ตายอดเป็นรูปกรวยคว่ำ มีขนสีน้ำตาลแดงปกคลุมประปราย กิ่งค่อนข้างเป็นรูปสี่เหลี่ยม
ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก แผ่นใบรูปรี รูปไข่ รูปไข่กลับ หรือรูปขอบขนาขนาด 4-10x8-17 ซม. ปลายใบกลมถึงเว้าบุ๋ม หรืแหลมเล็กน้อย ฐานใบรูปลิ่มถึงกลม เป็นครีบที่โคน ขบใบเรียบเป็นคลื่นยาว ใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านบนสีเขียวเป็นมัน ด้านท้องใบสีจางกว่า เนื้อใบหนาคล้ายหนัง เส้นใบมีจำนวนมาก เรียงชิดและขนานกัน ก้านใบยาว 1-2.8 ซม.
ดอก แบบช่อเชิงลดมีก้าน ออกตามง่ามใบ ยาว 10-15 ซม. แต่ละช่อมี 5-15 ดอก ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 ซม. สีขาว กลีบรวม 8 กลีบ เรียงซ้อนเป็นสองชั้น ชั้นนอก 2 คู่ เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉากกัน ชั้นใน 4 กลีบ เรียงเป็นวงซ้อนเหลื่อมกัน เกสรเพศผู้มีจำนวนไม่แน่นอน โคนก้านติดกัน ออกดอกเดือน มิถุนายน-กรกฎาคม
ผล เป็นผลเมล็ดเดียว แข็ง ค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-4 ซม. ปลายผลเป็นติ่งแหลม ผลอ่อนสีเขียวเป็นมัน มี 1 เมล็ด รูปทรงมนกลมสีน้ำตาลอ่อน เมื่อแก่เป็นสีน้ำตาลอมเขียว มีรอยย่น ออกผลเดือน กรกฎาคม-พฤศจิกายน
- ไม้ยืนต้นขนาดกลางขอบขึ้นตามริมทะเล ใบหนาเป็นมัน มียางสีเหลือง ดอกมีสีนวล มีเกสรมาก สีเหลือง กลิ่นหอมเช่นดอกสารภี ผลลักษณะกลม เมื่อยังอ่อนสีเขียว เมล็ดมีเปลือกแข็ง
- ไม้ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูง ๑๕ - ๓๐ เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรีหรือแกมรูปไข่กลับ ยาว ๘ - ๑๕ เซนติเมตร ปลายใบกลมหรือเว้าตื้น โคนใบรูปลิ่มกว้างหรือกลม แผ่นใบค่อนข้างหนา เกลี้ยง เป็นมันวาวทั้งสองด้าน เส้นแขนงใบจำนวนมาก ดอกสีขาว ออกเป็นกระจุกแยกแขนงสั้นๆ ตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง เกสรเพศผู้ สีเหลือง จำนวนมาก ผลสดมีเมล็ดเดียว ทรงกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ ๒.๕ เซนติเมตร ผลสุกสีเหลือง เมล็ดขนาดใหญ่ การกระจายพันธุ์ พบตั้งแต่ประเทศแอฟริกา อินเดีย ศรีลังกา พม่า จีนตอนใต้ ไต้หวัน ญี่ปุ่น กัมพูชา เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิค จนถึงออสเตรเลีย ในประเทศไทยพบขึ้นตามชายหาด ที่โล่งชายป่าใกล้ชายฝั่งทะเล ระดับความสูงไม่เกิน ๒๐๐ เมตร ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้
- ไม้ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูง ๑๕ - ๓๐ เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรีหรือแกมรูปไข่กลับ ยาว ๘ - ๑๕ เซนติเมตร ปลายใบกลมหรือเว้าตื้น โคนใบรูปลิ่มกว้างหรือกลม แผ่นใบค่อนข้างหนา เกลี้ยง เป็นมันวาวทั้งสองด้าน เส้นแขนงใบจำนวนมาก ดอกสีขาว ออกเป็นกระจุกแยกแขนงสั้นๆ ตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง เกสรเพศผู้ สีเหลือง จำนวนมาก ผลสดมีเมล็ดเดียว ทรงกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ ๒.๕ เซนติเมตร ผลสุกสีเหลือง เมล็ดขนาดใหญ่ การกระจายพันธุ์ พบตั้งแต่ประเทศแอฟริกา อินเดีย ศรีลังกา พม่า จีนตอนใต้ ไต้หวัน ญี่ปุ่น กัมพูชา เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิค จนถึงออสเตรเลีย ในประเทศไทยพบขึ้นตามชายหาด ที่โล่งชายป่าใกล้ชายฝั่งทะเล ระดับความสูงไม่เกิน ๒๐๐ เมตร ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้
- ไม้ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูง ๑๕ - ๓๐ เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรีหรือแกมรูปไข่กลับ ยาว ๘ - ๑๕ เซนติเมตร ปลายใบกลมหรือเว้าตื้น โคนใบรูปลิ่มกว้างหรือกลม แผ่นใบค่อนข้างหนา เกลี้ยง เป็นมันวาวทั้งสองด้าน เส้นแขนงใบจำนวนมาก ดอกสีขาว ออกเป็นกระจุกแยกแขนงสั้นๆ ตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง เกสรเพศผู้ สีเหลือง จำนวนมาก ผลสดมีเมล็ดเดียว ทรงกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ ๒.๕ เซนติเมตร ผลสุกสีเหลือง เมล็ดขนาดใหญ่ การกระจายพันธุ์ พบตั้งแต่ประเทศแอฟริกา อินเดีย ศรีลังกา พม่า จีนตอนใต้ ไต้หวัน ญี่ปุ่น กัมพูชา เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิค จนถึงออสเตรเลีย ในประเทศไทยพบขึ้นตามชายหาด ที่โล่งชายป่าใกล้ชายฝั่งทะเล ระดับความสูงไม่เกิน ๒๐๐ เมตร ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้
ระบบนิเวศ :
- ขึ้นตามชายหาด ที่โล่งชายป่าใกล้ชายฝั่งทะเล ระดับความสูงไม่เกิน ๒๐๐ เมตร
- ขึ้นตามชายหาด ที่โล่งชายป่าใกล้ชายฝั่งทะเล ระดับความสูงไม่เกิน ๒๐๐ เมตร
การกระจายพันธุ์ :
- พบตั้งแต่ประเทศแอฟริกา อินเดีย ศรีลังกา พม่า จีนตอนใต้ ไต้หวัน ญี่ปุ่น กัมพูชา เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิค จนถึงออสเตรเลีย ในประเทศไทยพบขึ้นตามชายหาด ที่โล่งชายป่าใกล้ชายฝั่งทะเล ระดับความสูงไม่เกิน ๒๐๐ เมตร ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้
- ทวีปแอฟริกาตะวันออกตลอดถึงประเทศไต้หวัน และนิวแคลิโดเนีย
- เป็นพันธุ์ไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในแถบอินโดจีน (ไทย พม่า ลาว เวียดนาม เขมร มาเลเซีย อินเดีย ศรีลังกา)ในประเทศไทยมีต้นกระทิงอยู่ 2 ชนิด ชนิดแรกใบสีเขียว (Calophyllum inophyllum L.) ส่วนอีกชนิดจะเป็นใบสีแดง (Calophyllum polyanthum Wall. ex Choisy) แต่ไทยเรามักจะใช้ต้นกระทิงใบเขียวกันมากกว่า มักขึ้นตามป่าใกล้ชายทะเล ป่าดงดิบ พบได้มากทางภาคใต้
- พบตั้งแต่ประเทศแอฟริกา อินเดีย ศรีลังกา พม่า จีนตอนใต้ ไต้หวัน ญี่ปุ่น กัมพูชา เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิค จนถึงออสเตรเลีย ในประเทศไทยพบขึ้นตามชายหาด ที่โล่งชายป่าใกล้ชายฝั่งทะเล ระดับความสูงไม่เกิน ๒๐๐ เมตร ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้
- พบตั้งแต่ประเทศแอฟริกา อินเดีย ศรีลังกา พม่า จีนตอนใต้ ไต้หวัน ญี่ปุ่น กัมพูชา เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิค จนถึงออสเตรเลีย ในประเทศไทยพบขึ้นตามชายหาด ที่โล่งชายป่าใกล้ชายฝั่งทะเล ระดับความสูงไม่เกิน ๒๐๐ เมตร ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้
- พบตั้งแต่ประเทศแอฟริกา อินเดีย ศรีลังกา พม่า จีนตอนใต้ ไต้หวัน ญี่ปุ่น กัมพูชา เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิค จนถึงออสเตรเลีย ในประเทศไทยพบขึ้นตามชายหาด ที่โล่งชายป่าใกล้ชายฝั่งทะเล ระดับความสูงไม่เกิน ๒๐๐ เมตร ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุมน้ำปากแม่น้ำกระบี่
- อุทยานแห่งชาติ เขาลำปี-หาดท้ายเหมือง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
การขยายพันธุ์ :
- เพาะเมล็ด ใช้เวลาประมาณ 1 เดือน ต้นที่ได้จากการเพาะเมล็ด มีข้อดีที่รูปทรงสวยงาม ดูแลง่าย แต่ต้องใช้เวลานานในการปลูก ประมาณ 3 ปีจึงจะออกดอก และะการตอนกิ่ง ใช้เวลาประมาณ 1 เดือนจึงออกราก ต้นที่ได้จากการตอนมีข้อดีที่ออกดอกเร็วภายใน 3 - 6 เดือนหลังตัดกิ่งตอนปลูก
- เพาะเมล็ด ใช้เวลาประมาณ 1 เดือน ต้นที่ได้จากการเพาะเมล็ด มีข้อดีที่รูปทรงสวยงาม ดูแลง่าย แต่ต้องใช้เวลานานในการปลูก ประมาณ 3 ปีจึงจะออกดอก และะการตอนกิ่ง ใช้เวลาประมาณ 1 เดือนจึงออกราก ต้นที่ได้จากการตอนมีข้อดีที่ออกดอกเร็วภายใน 3 - 6 เดือนหลังตัดกิ่งตอนปลูก
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- พังงา
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- ตาก
- สมุทรปราการ