ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นสูงได้ถึง 30 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรี กว้าง 2-5 ซม. ยาว 6-12 ซม. โคนใบสอบมน ปลายใบแหลม แผ่นใบเกลี้ยง ขอบใบมักเป็นคลื่น ก้านใบยาว 2-6 ซม. ดอกแยกเพศขนาดเล็ก ไม่มีกลีบรองดอกและกลีบดอก ดอกเพศผู้อยู่บนช่อแกน เกสรผู้ 4 อัน ดอกเพศเมียรวมกันอยู่เป็นก้อนกลมมีดอกย่อย 4-18 ดอก ผลเป็นผลกลุ่ม ทรงกลม ผิวขรุขระ แข็ง สีน้ำตาล ขนาด 1-2 ซม.
-
ไม้ต้นสูงได้ถึง 30 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรี กว้าง 2-5 ซม. ยาว 6-12 ซม. โคนใบสอบมน ปลายใบแหลม แผ่นใบเกลี้ยง ขอบใบมักเป็นคลื่น ก้านใบยาว 2-6 ซม. ดอกแยกเพศขนาดเล็ก ไม่มีกลีบรองดอกและกลีบดอก ดอกเพศผู้อยู่บนช่อแกน เกสรผู้ 4 อัน ดอกเพศเมียรวมกันอยู่เป็นก้อนกลมมีดอกย่อย 4-18 ดอก ผลเป็นผลกลุ่ม ทรงกลม ผิวขรุขระ แข็ง สีน้ำตาล ขนาด 1-2 ซม.
-
ไม้ต้นสูงได้ถึง 30 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรี กว้าง 2-5 ซม. ยาว 6-12 ซม. โคนใบสอบมน ปลายใบแหลม แผ่นใบเกลี้ยง ขอบใบมักเป็นคลื่น ก้านใบยาว 2-6 ซม. ดอกแยกเพศขนาดเล็ก ไม่มีกลีบรองดอกและกลีบดอก ดอกเพศผู้อยู่บนช่อแกน เกสรผู้ 4 อัน ดอกเพศเมียรวมกันอยู่เป็นก้อนกลมมีดอกย่อย 4-18 ดอก ผลเป็นผลกลุ่ม ทรงกลม ผิวขรุขระ แข็ง สีน้ำตาล ขนาด 1-2 ซม.
-
ไม้ต้นสูงได้ถึง 30 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรี กว้าง 2-5 ซม. ยาว 6-12 ซม. โคนใบสอบมน ปลายใบแหลม แผ่นใบเกลี้ยง ขอบใบมักเป็นคลื่น ก้านใบยาว 2-6 ซม. ดอกแยกเพศขนาดเล็ก ไม่มีกลีบรองดอกและกลีบดอก ดอกเพศผู้อยู่บนช่อแกน เกสรผู้ 4 อัน ดอกเพศเมียรวมกันอยู่เป็นก้อนกลมมีดอกย่อย 4-18 ดอก ผลเป็นผลกลุ่ม ทรงกลม ผิวขรุขระ แข็ง สีน้ำตาล ขนาด 1-2 ซม.
การกระจายพันธุ์ :
-
จากอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือลภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณป่าดิบเขาริมน้ำ ที่ระดับความสูง 100-800 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์
-
จากอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือลภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณป่าดิบเขาริมน้ำ ที่ระดับความสูง 100-800 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์
-
จากอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือลภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณป่าดิบเขาริมน้ำ ที่ระดับความสูง 100-800 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์
-
จากอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือลภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณป่าดิบเขาริมน้ำ ที่ระดับความสูง 100-800 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
สระแก้ว
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ชัยภูมิ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |