ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
ภูผาเทิบ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาท่าเพชร
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาประทับช้าง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาปะช้าง-แหลมขาม
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า คุ้งกระเบน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า หนองบงคาย
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาสิบห้าชั้น
-
อุทยานแห่งชาติ เขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ เฉลิมพระเกียรติไทยประจัน
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำพอง
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
-
อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
-
อุทยานแห่งชาติ พุเตย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูจอง-นายอย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูจอง-นายอย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
-
อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
-
อุทยานแห่งชาติ ภูเวียง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
-
อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
-
อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร
-
สุรินทร์
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
มุกดาหาร
-
สระบุรี
-
สระบุรี
-
สุราษฎร์ธานี
-
ราชบุรี
-
สงขลา
-
สงขลา
-
สงขลา
-
จันทบุรี
-
นครราชสีมา
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
เชียงราย
-
อุบลราชธานี
-
ระยอง, จันทบุรี
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
จันทบุรี
-
ระยอง
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
ราชบุรี
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ตาก
-
สระบุรี
-
สระบุรี
-
ขอนแก่น, ชัยภูมิ
-
สระแก้ว
-
ชัยภูมิ
-
อุบลราชธานี
-
สุพรรณบุรี
-
เลย
-
เลย
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
มุกดาหาร
-
สกลนคร, กาฬสินธุ์
-
ชัยภูมิ
-
ขอนแก่น
-
เลย
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
ชุมพร
-
ชลบุรี
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
กำแพงเพชร
-
จันทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
จันทบุรี
-
สุราษฎร์ธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
นราธิวาส
-
ลพบุรี
-
ลพบุรี
-
ลพบุรี
-
บุรีรัมย์
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
พังงา
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
เลย
-
เลย
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
บึงกาฬ
-
บึงกาฬ
-
กาฬสินธุ์
-
กาฬสินธุ์
-
เลย, เพชรบูรณ์
-
อุตรดิตถ์
-
ตาก
-
ราชบุรี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
พะเยา
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
กาญจนบุรี
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
ชุมพร
-
ป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
ใบ - เป็นใบเดี่ยวเรียงสลับกัน ลักษณะของใบเป็นรูปวงรีแกมรูปขอบขนาน หรือเป็นรูปวงรีแกมรูปไข่กลับ หรือเป็นรูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ โคนใบสอบมนหรือกลม ส่วนปลายใบแหลม ขอบใบเป็นหยักแบบฟันเลื่อยและไม่เป็นระเบียบที่ปลายใบส่วนกลางและโคนใบ ขอบเรียบ ปลายใบมีติ่งแหลมสั้นๆ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 3-10 เซนติเมตรและยาวประมาณ 6.5-19 เซนติเมตร แผ่นใบด้านบนเป็นสีเขียวเข้ม ส่วนด้านล่างเป็นสีเขียวหม่น แผ่นใบมีลักษณะคล้ายกระดาษถึงกึ่งหนาคล้ายกับแผ่นหนัง และมีขนรูปดาวขึ้นอยู่ทั้งสองด้าน โดยด้านล่างจะมีขนขึ้นหนาแน่นกว่า และใบมีเส้นแขนงใบอยู่ข้างละประมาณ 4-9 เส้น มี 3 เส้นออกจากโคนใบ โดยเส้นใบย่อยจะคล้ายกับขั้นบันได มองเห็นได้ชัดเจนที่ด้านล่าง ส่วนก้านใบมีความยาว ประมาณ 6-12 มิลลิเมตรและมีขนขึ้นหนาแน่น
ดอก - เป็นช่อกระจุกแยกแขนงตามซอกใบหรือที่ปลายกิ่ง มีความยาวประมาณ 3-15 เซนติเมตร ลักษณะของดอกตูมกลม มีดอกย่อยจำนวนมาก กลีบดอกเป็นสีเหลือง ส่วนก้านและแกนช่อดอกมีขนอยู่หนาแน่น ส่วนใบประดับเป็นรูปแถบหรือเป็นรูปใบหอก มีความยาวได้ถึง 1 เซนติเมตร และมีขนอยู่หนาแน่น ส่วนก้านดอกมีความยาวประมาณ 3-15 เซนติเมตร มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4 มิลลิเมตร ส่วนกลีบเลี้ยงมี 5 กลีบแยกออกจากกันเป็นอิสระ ลักษณะคล้ายรูปช้อน มีความกว้างประมาณ 2 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 6-7 มิลลิเมตร และมีขนอยู่ทั้งสองด้าน ส่วนกลีบดอกมี 5 กลีบแยกออกจากกันเป็นอิสระ ลักษณะเป็นรูปไข่แกมรูปใบหอก มีความกว้างประมาณ 0.5-1.5 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 1.5-3
มิลลิเมตร และมีขนสั้นๆ อยู่ทั้งสองด้าน ที่โคนกลีบด้านในมีต่อมลักษณะเป็นรูปรี ดอกมีเกสรตัวผู้จำนวนมาก ก้านชูอับเรณู โคนมีขน ปลายเกลี้ยง ส่วนรังไข่จะอยู่เหนือวงกลีบ ลักษณะเป็นรูปวงกลม กว้างประมาณ 1 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 2 มิลลิเมตร มีขนอยู่หนาแน่นมี 2-4 ช่อง โดยในแต่ละช่องมีออวุลอยู่ 2 เม็ด โดย
จะออกดอกในช่วงเดือนเมษายนถึงเดือนตุลาคม
ผล - ลักษณะของผลเป็นรูปทรงกลมแกมรูปไข่กลับ ผลมีขนาดกว้างประมาณ 0.6-1 เซนติเมตร และยาวประมาณ 1-1.2 เซนติเมตร ผลผนังชั้นในแข็ง ผนังของผล
ลักษณะคล้ายแผ่นหนัง มีขน ผลเมื่อแก่เป็นสีเขียว ส่วนผลสุกเป็นสีม่วงดำ ภายในผลมีเมล็ดแข็ง 1 เมล็ด โดยจะออกผลในช่วงเดือนเมษายนไปจนถึงเดือนตุลาคม
ดอก - เป็นช่อกระจุกแยกแขนงตามซอกใบหรือที่ปลายกิ่ง มีความยาวประมาณ 3-15 เซนติเมตร ลักษณะของดอกตูมกลม มีดอกย่อยจำนวนมาก กลีบดอกเป็นสีเหลือง ส่วนก้านและแกนช่อดอกมีขนอยู่หนาแน่น ส่วนใบประดับเป็นรูปแถบหรือเป็นรูปใบหอก มีความยาวได้ถึง 1 เซนติเมตร และมีขนอยู่หนาแน่น ส่วนก้านดอกมีความยาวประมาณ 3-15 เซนติเมตร มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4 มิลลิเมตร ส่วนกลีบเลี้ยงมี 5 กลีบแยกออกจากกันเป็นอิสระ ลักษณะคล้ายรูปช้อน มีความกว้างประมาณ 2 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 6-7 มิลลิเมตร และมีขนอยู่ทั้งสองด้าน ส่วนกลีบดอกมี 5 กลีบแยกออกจากกันเป็นอิสระ ลักษณะเป็นรูปไข่แกมรูปใบหอก มีความกว้างประมาณ 0.5-1.5 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 1.5-3
มิลลิเมตร และมีขนสั้นๆ อยู่ทั้งสองด้าน ที่โคนกลีบด้านในมีต่อมลักษณะเป็นรูปรี ดอกมีเกสรตัวผู้จำนวนมาก ก้านชูอับเรณู โคนมีขน ปลายเกลี้ยง ส่วนรังไข่จะอยู่เหนือวงกลีบ ลักษณะเป็นรูปวงกลม กว้างประมาณ 1 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 2 มิลลิเมตร มีขนอยู่หนาแน่นมี 2-4 ช่อง โดยในแต่ละช่องมีออวุลอยู่ 2 เม็ด โดย
จะออกดอกในช่วงเดือนเมษายนถึงเดือนตุลาคม
ผล - ลักษณะของผลเป็นรูปทรงกลมแกมรูปไข่กลับ ผลมีขนาดกว้างประมาณ 0.6-1 เซนติเมตร และยาวประมาณ 1-1.2 เซนติเมตร ผลผนังชั้นในแข็ง ผนังของผล
ลักษณะคล้ายแผ่นหนัง มีขน ผลเมื่อแก่เป็นสีเขียว ส่วนผลสุกเป็นสีม่วงดำ ภายในผลมีเมล็ดแข็ง 1 เมล็ด โดยจะออกผลในช่วงเดือนเมษายนไปจนถึงเดือนตุลาคม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ต้นพลับพลา จัดเป็นไม้ยืนต้นหรือเป็นไม้พุ่มขนาดกลาง มีความสูงของต้นประมาณ 15 ต้น ลำต้นตั้งตรง เปลือกลำต้นเป็นสีเทาและแตกล่อนเป็นสะเก็ดบางๆ เปลือกด้านในเป็นสีชมพูและมีเส้นใยเรียงตัวเป็นชั้น ที่กิ่งอ่อนและก้านใบจะมีขนลักษณะเป็นรูปดาวอยู่หนาแน่น
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
แก่นช่วยแก้หืด ด้วยการใช้แก่นพลับพลาผสมกับแก่นโมกหลวง แก่นจำปา ลำต้นกำแพงเจ็ดชั้น ลำต้นสบู่ขาว ลำต้นพลองเหมือด และลำต้นคำรอก นำมาต้มกับน้ำดื่ม จะช่วยแก้หืดได้ หรือจะใช้เนื้อไม้หรือแก่นนำมาต้มกับน้ำดื่มเลยก็แก้หืดได้เช่นกัน เปลือกใช้ผสมปรุงเป็นยาบำรุงโลหิตสตรี ช่วยกระจายโลหิต ลำต้นใช้เป็นยาประกอบรักษาโรคลำไส้ ผลแก่มีรสเปรี้ยวใช้รับประทานเป็นยาระบาย เปลือกต้นใช้ทำลายพิษของต้นยางน่องได้
-
นำเปลือกไปทุบแล้วเอามาต้มประคบแผล
ที่มาของข้อมูล
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมป่าไม้
-
โครงการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนในท้องถิ่น, กองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
พืชสมุนไพร ป่าชุมชนตะลุมพุก, โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ พื้นที่รอบป่ามรดกโลก "ดงพญาเย็น-เขาใหญ่" ฝั่งตะวันออก, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
คู่มือพันธ์ุไม้ท้องถิ่น ตำ บลแม่กิ๊ อ.ขุนยวม จ.แม่ฮ่องสอน, สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |